Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9462
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยาณี กิตติจิตต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพรรษา ลาวัง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-13T07:13:17Z-
dc.date.available2023-09-13T07:13:17Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9462-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความพร้อมของผู้ทำบัญชีในการ เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (2) เปรียบเทียบความพร้อมของผู้ทำบัญชีในการเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้ทำบัญชีในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 327 ราย ซึ่งผู้ศึกษาได้กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดย การใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ที่มีความเชื่อมัน 95% ได้กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา จำนวน 180 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยง 0.89 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานด้วยการทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการ เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ทำบัญชีมีความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในภาพรวมระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ผู้ทำบัญชีส่วนใหญ่มีความพร้อมด้าน ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนระดับปานกลาง มีความพร้อมด้านทักษะทาง วิชาชีพระดับมาก และมีความพร้อมด้านทักษะภาษาต่างประเทศระดับปานกลาง (2) เมื่อ เปรียบเทียบความพร้อมของผู้ทำบัญชีในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจำแนกตามลักษณะ ส่วนบุคคล อายุ ระดับการศึกษา รายได้ และตำแหน่งงาน ที่แตกต่างกันมีผลต่อความพร้อมในการ เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในทุกด้าน สถานภาพการสมรส ที่แตกต่างกัน มีผลต่อความพร้อม ด้านทักษะทางวิชาชีพและด้านทักษะภาษาต่างประเทศแต่ไม่มีผลต่อความพร้อมด้านความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประสบการณ์ในการทำงานที่แตกต่างกัน มีผลต่อความ พร้อมด้านความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และด้านทักษะทางวิชาชีพ แต่ไม่ มีผลต่อความพร้อมด้านทักษะภาษาต่างประเทศ เพศที่แตกต่างกันไม่มีผลต่อความพร้อมของผู้ทำ บัญชีในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในทุกด้านth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectนักบัญชี--ไทยth_TH
dc.titleความพร้อมของผู้ทำบัญชีสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนth_TH
dc.title.alternativeReadiness of certified accountant to ASEAN economics communityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were (1) to study readiness of certified accountant to ASEAN Economic Community; and (2) to compare readiness of certified accountant to ASEAN Economic Community by personal factors. The population was 327 certified accountants who worked in Bangkok Metropolitan and 180 of them were samples calculated by Taro Yamane formula. The research tool was a questionnaire with 0.89 reliability value. Data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance and least significant difference. The results found that (1) the overall readiness of certified accountant to ASEAN Economic Community was at medium level. Considering by aspect, it was found that the certified accountant ‘s readiness of professional skill was at high level while the readiness of ASEAN Economic Community knowledge and foreign language skill were at medium level; and (2) the certified accountants with different age, educational level, income and job position had different readiness to ASEAN Economic Community on all aspects. The certified accountants with different marital status had different readiness to ASEAN Economic Community on professional skill and foreign language skill but had no different on ASEAN Economics Community knowledge while the certified accountants with different work experience had different readiness to ASEAN Economic Community on ASEAN Economic Community knowledge and professional skill but had no different on foreign language skill. The certified accountants with different gender had no different readiness to ASEAN Economic Community on all aspectsen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140793.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons