Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9470
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิศนันท์ อุปรมัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุมาพร กองแก้ว, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-13T07:55:23Z-
dc.date.available2023-09-13T07:55:23Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9470-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยด้านส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้อของผู้ซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่จากร้านค้าปลีกในห้างสรรพสินค้า (2) ปัจจัยด้านส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อของผู้ซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่จากร้านค้าปลีกในห้างสรรพสินค้า และ (3) ปัจจัยด้านทำเลที่ตั้งที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อของผู้ซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่จากร้านค้าปลีกในห้างสรรพสินค้า การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้บริโภคหรือประชาชนที่เคยใช้บริการในห้างสรรพสินค้าในกรุงเทพ และปริมณฑล ซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของคอร์แครน ได้จำนวน 400 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และหาความสัมพันธ์ด้วยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยด้านลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ ผู้บริโภคที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน ไม่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่จากร้านค้าปลีกในห้างสรรพสินค้า (2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคคล ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการ มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่จากร้านค้าปลีกในห้างสรรพสินค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 และ (3) ปัจจัยทำเลที่ตั้ง ด้านการคมนาคม ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านการเข้าถึงลูกค้ามีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่จากร้านค้าปลีกในห้างสรรพสินค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการธุรกิจและการบริการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโทรศัพท์เคลื่อนที่--การจัดซื้อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการธุรกิจและการบริการth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่จากร้านค้าปลีกในห้างสรรพสินค้าth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to consumers' decision to purchase mobile phone from retail shop in department storeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการธุรกิจและการบริการ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) to explore the personal factor of people that related to consumers’ decision to purchase mobile phone from retail shop in department store to (2) Study the factors of marketing mix that related to consumers’ decision to purchase mobile phone from retail shop in department store and (3) to study the factors of locations that related to consumer’s decision to purchase mobile phone from retail shop in department store. This study is qualitative research. The population studied the consumer who had previously used the service of the department store in Bangkok and Vicinity, in an unknown certain number of populations. The samples are defined by using Cochran’s Formula to acquire the sample size of 400 persons. Then the samples were random by using convenient sampling method. Questionnaire is used as instrument for data collection. The statistics used for data analysis, with are included of frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, and Pearson’s product moment correlation coefficient The results indicated that (1) The consumer with the different gender, age, the educational level, status, occupation, income that not affect the decision to purchase retail mobile shop in department store (2) the marketing mix factors including product, price, place, promotion, process, people and physical evidence directly affect the decision to purchase retail mobile shop in department store, the statistical significance at 0.05, and (3) the factors of locations that affect the decision to purchase mobile phone from retail shop in department store and were found to be the most important for consumers to the decision to purchase, the statistical significance at 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons