Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9482
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศจี จิระโร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปฐมพงศ์ พัฒผล, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-14T02:34:16Z-
dc.date.available2023-09-14T02:34:16Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9482-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร (2) ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวกับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยกับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา และ (4) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร จำนวน 397 คน ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งขั้นตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และปัจจัยที่เกี่ยวกับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 และ .98 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับดังนี้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคล การมีวิสัยทัศน์และค่านิยมร่วม การเรียนรู้ร่วมกัน การสนับสนุนการเป็นผู้นำร่วมกัน และการมีเงื่อนไขที่สนับสนุน (2) ปัจจัยที่เกี่ยวกับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษาโดยภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับดังนี้ บรรยากาศและวัฒนธรรม การจูงใจ ภาวะผู้นำ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้าง (3) การเป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษากับปัจจัยที่เกี่ยวกับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษาความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (4) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา ได้แก่ ภาวะผู้นำ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และบรรยากาศและวัฒนธรรม ปัจจัยทั้งหมดสามารถร่วมกันทำนายการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษาได้ร้อยละ 84.80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the being professional learning community of schools under the Secondary Education Service Area Office 2 in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the level of being professional learning community of schools under the Secondary Educational Service Area Office 2 in Bangkok Metropolis; (2) to study the factors related to the professional learning community of schools; (3) to study the relationship between factors and being professional learning community of schools; and (4) to study factors affecting the being professional learning community of schools. The sample consisted of 397 teachers in schools under The Secondary Educational Service Area Office 2 in Bangkok Metropolis, obtained by stratified random sampling based on school size. The instrument used was a questionnaire dealingwith data on related factors and being professional learning community of schools, with reliability coefficient of .97 and .98. Statistics used in data analysis were the mean, standard deviation, Pearson’s product-moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis. The research findings indicated that (1) the overall and by-dimension components of being professional learning community of schools were rated at the high level; and the specific dimension could be ranked based on their rating means as follows: learning exchange among individuals, having shared version and values, collaborative learning, support for shared leadership, and having supportive conditions; (2) the overall and by-dimension related factors were rated at the high level; and the specific dimension could be ranked based on their rating means as follows: climate and culture, motivation, leadership, human resource development, and structure; (3) the professional learning community of schools positively correlated with the factors related to the professional learning community at the high level, which was significant at the .01 level, and (4) the factors affecting the being professional Learning community of schools were the following: leadership, human resource development, and climate and culture.. All factors could jointly predict 84.80 % of the variation in the being professional learning community of schools, which was significant at the .01 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons