Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9504
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพลสราญ สราญรมย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorคณิศร ผลิผล, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-14T06:42:17Z-
dc.date.available2023-09-14T06:42:17Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9504-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องของการปลูกกล้วยหอมทอง 2) การผลิตกล้วยหอมทองตามหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี 3) ความรู้ของเกษตรกรเกี่ยวกับการปฏิบัติตามหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี 4) ความต้องการการส่งเสริมการผลิตกล้วยหอมทองตามหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี และ 5) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกรผู้ผลิตกล้วยหอมทอง ตามหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ประชากรในการศึกษาในครั้งนี้ คือ เกษตรกรผู้ปลูกกล้วยหอมทองในอำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี จํานวน 2 กลุ่ม คือ เกษตรกรที่ได้รับใบรับรองแปลงเกษตรดีที่เหมาะสม และเกษตรกรที่ไม่ได้รับใบรับรองแปลงเกษตรดีที่เหมาะสม โดยกําหนดตัวอย่างกลุ่มละ 57 ราย เครื่องมือที่ใช้คือแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่ม ส่วนใหญ่จบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น พื้นที่ทําสวนกล้วยหอมทองเฉลี่ย 8.09 ไร่ และ 8.59 ไร่ ตามลำดับ รายได้ในการทําสวนกล้วยหอมทอง 227,884.62 บาท/ปี และ 217,612.56 บาท/ปี ตามลำดับ 2) เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่ม มีการผลิตกล้วยหอมทองโดยปฏิบัติตามหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีเกือบทุกประเด็น และไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3) เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่มทุกรายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการผลิตกล้วยหอมทองตามหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีเป็นอย่างดี 4) เกษตรกรส่วนใหญ่มีความต้องการการส่งเสริมระดับมากเกือบทุกประเด็น ยกเว้นการติดต่อกับเจ้าหน้าที่เป็นรายบุคคลอยู่ในระดับน้อยที่สุด และ 5) เกษตรกรที่ได้ใบรับรองการปฏิบัติทางเกษตรที่ดี มีปัญหาระดับมาก คือ ราคากล้วยหอมทองทั่วไปกับกล้วยหอมทองที่ได้รับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีไม่แตกต่างกัน ส่วนเกษตรกรที่ไม่ได้ใบรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี มีปัญหาระดับมาก คือ การขาดความรู้เรื่องการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูกล้วยหอมทอง และราคากล้วยหอมทองค่อนข้างต่ำ โดยมีข้อเสนอแนะว่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรสนับสนุนการใช้สารชีวภัณฑ์ในการจัดการศัตรูพืชth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกล้วยหอมทอง--มาตรฐานการผลิตth_TH
dc.subjectการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีth_TH
dc.titleการผลิตกล้วยหอมทองเพื่อให้ได้ตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกรในอำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeGros michel banana production based on good agricultural practice standard by farmers in Nong Suea District of Pathum Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตร์มหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) socio-economic status of farmers, 2) farmers’ practices based on Good Agricultural Practice (GAP) standard, 3) fanners’ knowledge of GAP, 4) an extension needs by famers, and (5) farmers problems and suggestions of Gros Michel banana production based on GAP standard. The population consisted of two farmer groups producing Gros Michel banana in Nong Suca District, Pathum Thania Province including the farmers who received GAP certificate and those who didn’t receive GAP certificate. The samples were 5 7 farmers from each group. The data were collected by an interview questionnaire and analyzed by using computerized program to determine frequency, percentage, mean, standard deviation, and Chi-square test. The findings revealed that 1) the majority of both farmer groups finished secondary education. The average Gros Michel plantation areas were 8.09 and 8.59 Rai (1 Rai = 1,600 square meters) while their average annual incomes were 227,884.62 and 217,612.56 baht respectively. 2) They practiced based on GAP principle in most topics as well with no statistically significant differences. 3) They also had good knowledge of GAP principle. 4) The extension needs of most aspects were indicated at a much level except the aspect of contacting individual farmers were rated as the least level. Furthermore 5) The farmers who received GAP certificate indicated the problem at high level that there were no differences between prices of GAP and general produces while those farmers who didn’t receive GAP certificate stated high level problems, these were lack of knowledge in pest control and low price of Gros Michel produce. Moreover they suggested that Bio-substance should be supported for pest managementen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons