Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9539
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดารณี เคียงประคอง, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-15T03:25:13Z-
dc.date.available2023-09-15T03:25:13Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9539-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยในการตัดสินใจทำงานราชการของ บุคลากรกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (2) เปรียบเทียบปัจจัยในการตัดสินใจทำงาน ราชการของบุคลากรกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือข้าราชการและพนักงานราชการ ของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ จำนวน 130 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 99 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด ผลการศึกษาพบว่า (1) บุคลากรกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ให้ความสำคัญกับปัจจัยในการตัดสินใจทำงานราชการในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายปัจจัย พบว่า ปัจจัยภายในตัวบุคคลอยู่ในระดับมากและปัจจัยภายนอกตัวบุคคลอยู่ในระดับ ปานกลาง โดยปัจจัยภายในตัวบุคคลลำดับแรกคือความภาคภูมิใจที่ได้ทำงานราชการซึ่งอยู่ในระดับ มากที่สุด ส่วนปัจจัยภายนอกตัวบุคคลลำดับแรกคือครอบครัวสนับสนุนให้ทำงานราชการซึ่งอยู่ใน ระดับมากที่สุดเช่นเดียวกัน (2) บุคลากรกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ ประเภทบุคลากร ลักษณะงาน และภูมิลำเนาแตกต่างกัน ให้ความสำคัญกับปัจจัยในการตัดสินใจทำงานราชการไม่แตกต่างกัน แต่บุคลากรกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกัน ให้ความสำคัญกับปัจจัยใน การตัดสินใจทำงานราชการแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการทำงาน--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยในการตัดสินใจทำงานราชการของบุคลากรกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่th_TH
dc.title.alternativeFactors in making the decision to work for Government Sector of Personnel at Department of Primary Industries and Minesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study factors in making the decision to work for government sector of personnel at Department of Primary Industries and Mines ; and (2) to compare factors in making the decision to work for government sector of personnel at Department of Primary Industries and Mines by personal factors. This study was a survey research. The population was 130 government officers and government employees of Department of Primary Industries and Mines and 99 of them were randomized by simple random sampling. The research tool was a questionnaire. The statistical analysis included percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance and least significant difference. The results showed that (1) the personnel at Department of Primary Industries and Mines rated factors in making the decision to work for government sector at high level. Considering by factor, it was found that the internal factor was at high level and the external factor was at moderate level. The first in internal factor was the pride in working for government sector which was at the highest level and the first in external factor was the family encouragement on working for government sector which was at the highest level too; (2) the personnel with different genders, ages, educational level, marital status, personnel category, job feature and domicile had no different rating on factors in making the decision to work for government sector while the personnel with different monthly income had different rating on factors in making the decision to work for government sector at .05 statistically significant level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140471.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons