Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9542
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฉวีวรรณ นุ่มดี-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-15T03:50:19Z-
dc.date.available2023-09-15T03:50:19Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9542-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีรายได้ขององค์การ บริหารส่วนตำบลโนนอุดม อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น (2) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลโนนอุดม อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น โดยจำแนกตามปัจจัย ส่วนบุคคล (3) ศึกษาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีรายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบล โนนอุดม อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ประชาชนของตำบลโนนอุดม อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น จำนวน 3,776 คน ใช้ขนาดตัวอย่างจำนวน 365 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้เก็บ รวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบค่าที ค่าความแปรปรวนทางเดียว และค่าทดสอบเชฟเฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) ประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีรายได้โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และพิจารณารายด้านทั้ง 3 ด้านได้แก่ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติตามกฎหมายภาษี ด้านประชาสัมพันธ์ ด้านการตรวจสอบการปรับปรุงฐานข้อมูลและการติดตามผลการจัดเก็บภาษีรายได้ พบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมาก (2) ประชาชนที่มีอายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่างกัน มีความคิดเห็น ต่อประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีรายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลโนนอุดม แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีรายได้ขององค์การ บริหารส่วนตำบลโนนอุดม อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น มี 3 ประการได้แก่ 1) ควรจัดให้มีเจ้าหน้าที่ออก จัดเก็บภาษีรายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลโนนอุดมให้อย่างเพียงพอ 2) ควรส่งเสริมให้ประชาชนได้ มีส่วนร่วมในการรับฟังและเรียนรู้เรื่องกฎหมายภาษีรายได้เพื่อการสร้างจิตสำนึกในการชำระภาษี และ 3) ควรจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมการคืนกำไรจากการชำระภาษีรายได้อย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบลth_TH
dc.subjectการจัดเก็บภาษีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีรายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลโนนอุดม อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativeThe efficiency of revenue collection of Nonudom Subdistric Administrative Organization, Chumpea District, Khon Kaen Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to: (1) study the efficiency of revenue collection of Nonudom Subdistrict Administrative Organization, Chumpea District, Khon Kaen Provice (2) compare the efficiency of revenue collection of Nonudom Subdistrict Administrative Organization, Chumpea District, Khon Kaen Provice classified by personal factors (3) study the appropriate approach of revenue collection of Nonudom Subdistrict Administrative Organization, Chumpea District, Khon Kaen Provice. Population in this study comprised 3,776 people in Nonudom Subdistrict , Chumpea District, Khon Kaen Provice from which 400 samples were obtained. Accidental random sampling was applied. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA and Scheffe's method. The results from the study were the followings: (1) from the overall view, the efficiency of revenue collection was at high level, with high level in all aspects which were: facilities that fostered compliance with tax laws, public relations, monitoring data based improvement and following up the result of tax collecting (2) differences were found among opinions of those with different ages, educational levels, and compensation with 0.05 level of statistical significance (3) three appropriate approaches to improve revenue collection of Nonudom Subdistrict Administrative Organization, Chumpea District, Khon Kaen Provice were : 1) Nonudom Subdistrict Administrative Organization should authorize sufficient authorities to collect tax 2) encourage people to participate in listening and learning about income tax laws to enhance their awareness on tax payment 3) there should be promotion activities on profit return to those who paid income tax constantlyen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143728.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons