Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9545
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจําเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจันทร์จรัส ประทุมวงศ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-15T04:05:53Z-
dc.date.available2023-09-15T04:05:53Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9545-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับบทบาทและการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดทําแผนพัฒนาตําบลขององค์การบริหารส่วนตําบลบุฮม อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย (2) เปรียบเทียบ ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีอิทธิพลต่อบทบาทและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทําแผนพัฒนาตําบล ขององค์การบริหารส่วนตําลบุฮม อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลยและ (3) ระบุปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทําแผนพัฒนาตําบลขององค์การบริหารส่วนตําบลบุฮม อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ประชาชนในพื้นที่ตําบลบุฮม อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ที่มีอายุ 18 ขึ้นไปจํานวน 5,608 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยสูตรของทาโร่ ยามาเน่ได้กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 373 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานส่วนสถิติเชิงอนุมานได้แก่ การวิเคราะห์ค่าที และการวิเคราะห์ค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับบทบาทและการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อหมู่บ้านในการจัดทํา แผนพัฒนาตําบลในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจําแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านการร่วมประชุมวางแผน ด้านการร่วมดําเนินการ และด้านการมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ ประชาชนมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก ส่วนด้านการร่วมติดตามตรวจสอบ ประชาชนมีส่วนร่วมอยู่ในระดับน้อย (2) เปรียบเทียบบทบาทและการมี ส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทําแผนพัฒนาตําบลขององค์การบริหารส่วนตําบลบุฮม อําเภอเชียงคานจังหวัดเลย จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ประชาชนที่เคยมีตําแหน่งการทํางานในชุมชนต่างกัน มีบทบาทและมี ส่วนร่วมในการจัดทําแผนพัฒนาตําบลแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทุกด้าน ส่วนปัจจัย ด้านอื่นๆ ไม่มีความแตกต่างกัน และ (3) ปัญหาที่พบคือ การขาดเงินงบประมาณสนับสนุน และการขาด ความรู้ในเรื่องการจัดทําแผนพัฒนา ส่วนข้อเสนอแนะคือ องค์การบริหารส่วนตําบลควรมีการประชาสัมพันธ์ อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทําแผนพัฒนาที่ชัดเจน แก่ผู้นําชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกสภา ในการจัดทํา แผนพัฒนาตําบล และองค์การบริหารส่วนตําบลควรมีการประชาสัมพันธ์อบรมให้ความรู้พบปะประชาชน จัดทําแผนความต้องการของหมู่บ้านth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--การมีส่วนร่วมของประชาชน--ไทย--เลยth_TH
dc.subjectการพัฒนาชุมชน--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleบทบาทและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาตำบล : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลบุฮม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลยth_TH
dc.title.alternativeThe roles and people's participation in the District development plan: A case study of Bu Hub-district, Chiang Khan District, Loei Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to: (1) examine level of people’s roles and participation in the Development Plan for Bu Hom Sub-District, Chiang Khan District, Loei Province; (2) compare individual factors affecting people’s roles and participation in the District Development Plan of Bu Hom Sub-District, Chiang Khan District, Loei Province; and (3) identify problems and guidelines on people’s participation in the District Development Plan of Bu Hom Sub-District, Chiang Khan District, Loei Province. The population in this study was 5608 people lived in Bu Hom Sub-District, Chiang Khan District, aged above 18 years. Samples were 373 people derived from Taro Yamane Formula. The data collecting tool was a questionnaire. The descriptive statistics used in data collection were percentage, mean and standard deviation and inferential statistics were t-Test and F-Test. The results showed that: (1) level of people’s role and participation in the Development Plan for Bu Hom Sub-District, Chiang Khan District, Loei Province was at moderate level. Classified each aspect, it was found that meeting for planning, implementing and obtaining benefit were at high level. However, the role monitoring was at low level; (2) comparison people’s role and participation in the District Development Plan, Chiang Khan District, Loei Province which were classified by personal factors in all aspects, it was found that people who held differently positions in the community performed roles and participation in differently and statistically significant at the .05 level, the other factors are no different; and (3) Problems were the limitation of fund and knowledge providing on the District Development Plan. Recommendations were Sub-District Administrative Organization should provide training courses and knowledge on the District Development Plan formulation to the leaders of communities, headmen and council members as well as to educate people, meet the people and draft the need of villagers’ planen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
144695.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons