Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/956
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสนีย์ คำสุข | th_TH |
dc.contributor.author | ฉัตรชัย รัตนเขียว, 2514- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-23T07:51:42Z | - |
dc.date.available | 2022-08-23T07:51:42Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/956 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) บทบาทของกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ ที่มีต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2550 (2) ลักษณะความสัมพันธ์ของกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการที่มีต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2550 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยมี จำนวน 6 กลุ่ม ๆ ละ 2 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ กลุ่มสมาชิกพรรคการเมือง กลุ่มนักธุรกิจ กลุ่มข้าราชการ กลุ่มผู้นำชุมชนหรีอผู้นำในท้องถิ่นกลุ่มผู้สมัครสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร เขตจตุจักร และกลุ่มสื่อสารมวลชน เครื่องมือวิจัยประกอบไปด้วยแบบสัมภาษณ์แบบเก็บข้อมูลจากเอกสาร และแบบบันทึกจากการสังเกตแบบมีส่วนร่วมโดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า (1) กลุ่มผลประโยชน์ทุกกลุ่มมีบทบาทต่อการสนับสนุนผู้สมัครรับเลือกตั้งมากซึ่งประกอบด้วย กลุ่มสมาชิกพรรคการเมือง กลุ่มนักธุรกิจ กลุ่มข้าราชการ กลุ่มผู้นำชุมชน กลุ่มผู้สมัครสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร และกลุ่มสื่อสารมวลชน มีบทบาทในการช่วยประชาสัมพันธ์ผู้สมัครรับเลึอกตั้ง การรณรงค์หาเสึยงก่อนการเลึอกตั้งและแสดงออกหลังจากการเลือกตั้งผ่าน เช่น การดำเนินกิจกรรมที่ได้ประกาศไว้การติดตามตรวจสอบแนวนโยบาย เป็นต้น (2) กลุ่มผลประโยชน์ทุกกลุ่มมีลักษณะความสัมพันธ์ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ดังนี้แบบทางการคือกลุ่มผลประโยชน์เข้ามามีบทบาทในสังคมอย่างเปิดเผยและเป็นไปตามกฎหมาย เช่น กลุ่มผู้สมัครสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร มีบทบาทสำคัญในการแถลงนโยบายเพื่อแสดงออกถึงอุดมการณ์ทางการเมืองที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนเป็นสำคญ กลุ่มสื่อมวลชนมีบทบาทให้ความร่วมมือในการประชาสัมพันธ์ ข้อมูลการเลึอกตั้งเพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูลต่างๆ เพื่อประกอบการตัดสินใจ สำหรับข้าราชการถือได้ว่าเป็นกลุ่มที่มีบทบาทตามกฎหมายโดยตรงที่ต้องจัดการเลือกตั้งให้เป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรม ส่วนผู้นำชุมชนมีบทบาทต่อการเลือกตั้งในฐานะผู้นำและมีส่วนสำคญต่อการทำกิจกรรมในชุมชน และ ส่งเสริมสนับสนุนการเลือกตั้ง โดยการประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนทราบทั้งในรูปแบบการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์หรึอโนัมน้าวในรูปแบบต่าง ๆ แบบไม่เป็นทางการ คือกลุ่มผลประโยชน์มีบทบาทในสังคมเชิงสัญลักษณ์หรึอโดยอ้อม เช่น กลุ่มสมาชิกพรรคการเมืองจะแสดงบทบาทในรูปของการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน กลุ่มนักธุรกิจแสดงบทบาทแทรกแซงทางการเมืองผ่านระบบอุปถัมภ์ โดยวิธีการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์กับกลุ่มผู้สมัครอย่างไม่เปิดIผยกลุ่มสื่อสารมวลชนมีบทบาทในการผลักดันให้ผู้สมัครได้รับการเลือกตั้งหรือไม่ได้รับการเลือกตั้งผ่านการนำเสนอข้อมูลข่าวสาร ส่วนข้าราชการถึงแม้จะต้องระมัดระวังในเรื่องการวางตัวแต่ก็มีบทบาทเอนเอียง สนับสนุนกลุ่มนักการเมืองท้องถิ่นที่ตนมีส่วนได้เสีย เช่น การเพิกเฉยต่อข้อร้องเรียนการกระทำผิดกฎหมายการเลือกตั้ง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร -- การเลือกตั้ง | th_TH |
dc.subject | กลุ่มอิทธิพล | th_TH |
dc.title | บทบาทกลุ่มผลประโยชน์ต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร : ศึกษากรณีเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2550 | th_TH |
dc.title.alternative | The roles of interest groups in the election of Bangkok Metropolitan Council Members : a case study of Chatuchak District, Bangkok Metropolis, B.E. 2550 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to examine (I) the roles of various interest groups in the 2007 election of Bangkok Metropolitan council members, Chatuchak, Bangkok, and (2) the characteristics of formal and informal relationships between interest groups in the 2007 election of Bangkok Metropolitan council members, Chatuchak, Bangkok. This is a qualitative study. The sample, chosen by purposive sampling, consisted of six groups of people, two of each from party members, business people, government officials, community leaders or local leaders, candidates for the Bangkok Metropolitan council members in Chatuchak. and the media. Data were collected using interview forms, document collection forms, and notes from participatory observation, and analyzed through descriptive analysis. The results showed that (I) all interest groups played a role in supporting the candidates at a high level. These groups, consisting of party members, business people, government officials, community leaders or local leaders, candidates for the Bangkok Metropolitan council members and the media played a role in promoting the candidates pre-election campaign and expressing themselves after winning the election, such as performing activities that has been published, monitoring the policy, etc. (2) All interest groups had both formal and informal relationships. Formally, the interest groups played their role in society publicly and legitimately; for example, the Bangkok Metropolitan council members had an important role in the policy statement in expressing their political ideology for the benefit of the public. Media groups had a role in cooperating in the election to release information to the public for decision-making. Government officials had a direct role under the law to manage the election in a transparent and fair way. Community leaders were responsible for the election, playing an important role in undergoing the activities in the community and promoting the election by publicizing in the form of postering and persuading in various ways. Informally, interest groups played a role in a symbolic or indirect way; for example, party members would participate in various activities in the community. Business people played a role in political intervention through a patronage system by exchange of interests with a group of anonymous candidates. The media had a role in pushing the candidates to be elected or not to be elected through the presentation of information. Although the government officials must be careful about their conduct, they had a bias toward local politicians as their stakeholders, such as ignoring the complaints of election law violations | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ฐปนรรต พรหมอินทร์ | th_TH |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib119014.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License