Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9571
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดลพร บุญพารอดth_TH
dc.contributor.authorทินภัทร ศรีคะชินทร์, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-15T07:49:03Z-
dc.date.available2023-09-15T07:49:03Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9571en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา(1)ปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อความผูกพันของบุคลากร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (2) ระดับความผูกพันของบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (3) ความสัมพันธ์ของปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อระดับความผูกพันของบุคลากรกับ ระดับความผูกพันของบุคลากร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (4) ระดับความผูกพันของ บุคลากรจำแนกตามปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ของบุคลากร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มตัวอย่างคือ บุคลากร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 188 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบทดสอบ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นว่าองค์การให้ความสำคัญเกี่ยวกับ ปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อความผูกพันของบุคลากรโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความเห็นว่าองค์การให้ ความสำคัญเกี่ยวกับปัจจัยจูงใจด้านนโยบายองค์การมากที่สุด รองลงมาคือปัจจัยจูงใจด้าน โครงสร้างองค์การ ปัจจัยจูงใจด้านแรงจูงใจ(ค่าตอบแทนและสวัสดิการ)และสุดท้ายคือปัจจัยจูงใจ ด้านการมีส่วนร่วมและตระหนักถึงคุณค่า (2) กลุ่มตัวอย่างมีระดับความผูกพัน โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความผูกพันกับหน่วยงานมากที่สุด รองลงมาคือความผูกพันในงาน ความผูกพันกับองค์การ ความผูกพันกับเพื่อนร่วมงานและสุดท้ายคือความผูกพันกับหัวหน้างาน (3) ปัจจัยจูงใจ ด้านนโยบาย องค์การ ด้านโครงสร้างองค์การ มีความสัมพันธ์กับระดับความผูกพันของบุคลากร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในระดับต่ำ ปัจจัยจูงใจด้านแรงจูงใจ (ค่าตอบแทนและสวัสดิการ) ด้านการมีส่วนร่วม และตระหนักถึงคุณค่า มีความสัมพันธ์กับระดับความผูกพันของบุคลากร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในระดับปานกลาง (4) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อระดับความผูกพัน ของบุคลากร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้แก่ รายได้ต่อเดือนและระยะเวลาทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิทยาศาสตร์th_TH
dc.subjectความผูกพันth_TH
dc.titleปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อระดับความผูกพันของบุคลากรกรณีศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลth_TH
dc.title.alternativeMotivational factors that affect the relationship of the staffs Faculty of Science Mahidol Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to examine (1) factors that affect the motivation of staff engagement. Faculty of Science University (2) the level of staff engagement. Faculty of Science University (3) the relationship of the motivational factors that influence the level of staff engagement levels of staff engagement. Faculty of Science University (4) the level of engagement of personnel by demographic factors. Faculty of Science University. Sample is Faculty of Science University 188 is a test of the instruments used. Data were statistically analyzed using percentage, mean, standard deviation. Test value. Analysis of variance And Pearson correlation analysis. The results showed that (1) the sample was of the opinion that organizations focus on the factors that affect the motivation of staff engagement was at the high level. By an organization that focuses on incentive policy for most followed by organizational incentive structures. Incentive motivation (compensation and benefits), and the last is an incentive to participate and realize the value (2) samples had levels of binding Overall level, with ties to the most The second is a commitment. ties to the organization. Engagement with colleagues, supervisors and ultimately ties (3) incentive policy organization. The organizational structure. correlated with the level of staff engagement. Faculty of Science University level incentive motivation (compensation and benefits), the involvement and awareness of the value. Correlated with the level of staff engagement Faculty of Science University. moderate (4) demographic factors that affect the level of staff engagement. Faculty of Science University, including monthly income and work hours.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
134128.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons