Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9573
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนุชราพร ทองปลี, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-15T07:59:44Z-
dc.date.available2023-09-15T07:59:44Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9573en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาภาระหนี้สินของข้าราชการกรมการเงินกลาโหม (2) เปรียบเทียบภาระหนี้สิน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของข้าราชการกรมการเงินกลาโหม และ (3) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดภาระหนี้สินของข้าราชการกรมการเงินกลาโหมประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการกรมการเงินกลาโหมที่มีภาระหนี้สิน จำนวน 219 นาย กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 142 นาย โดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิและการสุ่มตัวอย่างแบบง่าช เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.83 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที่ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ซึ่งในกรณี ที่พบความแตกต่างในเชิงสถิติ ทดสอบการเปรียบเทียบพหุคูณด้วยวิธี Scheffe หรือ Tamhane และการวิเคราะห์ถคถอยเชิงพหุคูณแบบปกติผลการศึกษาพบว่า (1) ภาระหนี้สินของข้าราชการกรมการเงินกลาโหม กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ย 51 1,150.00 บาท ค่าน้อยที่สุดคือ 2,000.00 บาท ส่วนคำมากที่สุดคือ 2,270,000.00 บาท มีภาระหนี้บัตรเครดิดอย่างเดียวมากที่สุด รองลงมา คือ มีภาระหนี้ภายในและหนี้บัตรเครคิดและมีภาระหนี้ภายในอย่างเดียว ดามลำดับ (2) ข้าราชการกรมการเงินกลาไหมที่มีอายุ สถานภาพการสมรส และจำนวนบุตรต่างกัน มีภาระหนี้สินที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) ปัจจัขที่มีอิทธิพลต่อการเกิดภาระหนี้สินของข้าราชการกรมการเงินกลาไหม เรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ จำนวนรายได้ต่อเดือน การซื้อสินค้าด้วยระบบเงินผ่อน และความต้องการการยอมรับในสังคม โดยมีความสัมพันธ์กับการเกิดภาระหนี้สินในระดับปานกลาง (R = 0.51)และสามารถร่วมกันอธิบายความผันแปรของการเกิดภาระหนี้สินของข้าราชการกรมการเงินกลาโหม ได้ร้อยละ 17.54 (Adjusted R² = 0.1754) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้าราชการ--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectหนี้th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดภาระหนี้สินของข้าราชการกรมการเงินกลาโหมth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing indebtedness of the officials at defence finance departmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study indebtedness of the officials at Defence Finance Department; (2) to compare indebtedness of officials at Defence Finance Department, classified by personal factors; and (3) to study factors influencing indebtedness of the officials at Defence Finance Department. The population of this study was 219 Defence Finance Department’s officials who were indebted. The sample was 142 officials calculated by using Taro Yamane formula in stratified and simple random sampling. The instrument used for data collection was a constructed questionnaire with the reliability of 0.83. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and one-way analysis of variance (ANOVA) and Scheffe or Tamhane test for multiple-comparison test in case significantly different means were found, and multiple regression analysis. The results revealed that (1) the average of indebtedness of the officials at Defence Finance Department is 511,150 baht, with the minimum value of 2,000 baht to the maximum 2.27 million baht. Most indebtedness was from a credit card only, followed by indebtedness from both an internal debt and a credit card debt, and only an internal debt respectively; (2) the officials at Defence Finance Department with different ages, marital status and number of children had different indebtedness with s statistical significance at the level of 0.05; and (3) factors influencing indebtedness of the officials at Defence Finance Department were monthly income, purchasing by installment, and needs for social acceptance, respectively. The relationship related to the indebtedness was at a moderate level (R= 0.51), which could predict the state of indebtedness of the officials at Defence Finance Department by 17.54% (Adjusted R2 = 0.1754) at a statistical significance at the level of 0.05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_152103.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons