Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9578
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปาริชาติ จิตรสุข, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-18T02:16:45Z-
dc.date.available2023-09-18T02:16:45Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9578en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษารูปแบบการดำนินชีวิตของพนักงาน บริษัท ฟูจิกูระ อีเล็กโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (2) เปรียบเทียบรูปแบบการดำเนินชีวิตของพนักงาน บริษัท ฟูจิกูระ อีเล็กโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด จำแนกตามลั่กษณะทั้งประชากรศาสตร์และ(3) เสนอแนะแนวทางการจัดสวัสดิการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท ฟูจิระ อีเล็กโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยชิงสำรวจ ประชากร ถือ พนักงานระดับปฏิบัติการของ บริษัท ฟูจิกูระ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด ที่สำนักงานใหญ่ จังหวัดพระนตรศรีอยุธยา จำนวน 3,101 คน กำหนดตัวอย่างด้วยการคำนวณจากสูตรของทาโร่ ยามาน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 35 กน ซึ่งใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างเชิงระบบ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติ ได้แก่ การแจกแจง ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวผลการศึกษาพบว่า (1) พนักงานบริษัท ฟูจิกูระ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด มีรูปแบบ การดำเนินชีวิตด้านกิจกรรมมากที่สุด ได้แก่ การเล่นอินเทอร์เน็ต การเล่นเฟสบุ๊ค และการเล่นไลน์ ด้านความสนใจมากที่สุด ได้แก่ การให้ความสำคัญกับครอบครัวเป็นอันดับแรก การสนใจท่องเที่ยวกับครอบครัวและการชอบอาหารไทย ด้านความคิดเห็นมากที่สุด ได้แก่ การมีสุขภาพที่ดี แข็งแรง ไม่เจ็บป่วย เป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา ยาเสพติดเป็นสิ่งทำร้ายสุขภาพและทำลายอนาคต และการมีความสุขมากเมื่อได้อยู่บ้าน (2) พนักงาน ของ บริษัท ฟุจิดูระ อีเล็กโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด ที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์แตกต่างกันมีรูปแบบการดำเนินชีวิตทั้งด้านกิจกรรม ความสนใจ และตวามคิดเห็น ไม่แตกต่างกัน และ(3) แนวทางการจัดสวัสดิการ ได้แก่ การจัดบริการเทคโนโลยีเครือข่ายแบบไร้สายและอินเทอร์เน็ตให้แก่พนักงานโดยไม่มีค่าใช้จ่าย ส่วนแนวทางการจัดการทรัพยากรมนุษข์ ได้แก่ การสรรหา การฝึกอบรม และการสื่อสารกับพนักงานผ่านทางอีเมล์ เฟสบุ๊ค และไลน์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัทฟูจิคูระ อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด--พนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleรูปแบบการดำเนินชีวิตของพนักงานบริษัท ฟูจิคูระ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัดth_TH
dc.title.alternativeLifestyle of employees working in Fujikura Electronics (Thailand) Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study lifestyle of employees working in Fujikura Electronics (Thailand) Limited; (2) to compare lifestyle of employees working in Fujikura Electronics (Thailand) Limited by demography; and (3) to propose welfare and human resource management in Fujikura Electronics (Thailand) Limited. This study was a survey research. The population was 3,101 operational employees in Pranakorn Sri Ayutthaya headquarter of Fujikura Electronics (Thailand) Limited. The sample size was 355 calculated by Taro Yamane’s formula. The sampling method was systemetic random sampling. Questionnaires were used in data collection process. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and one-way ANOVA. The finding of the research revealed as follows (1) lifestyle of employees working in Fujikura Electronics (Thailand) Limited exposed the most activities were playing the internet, facebook and line. The most interests aspects were focus on family, travel with family, and Thai food. The most opinion aspects were having good health, strength, no illness, no drug using and happiness when stay home; (2) employees working in Fujikura Electronics (Thailand) Limited with different demography had no differences in all aspects. and (3) proposition of welfare management were free access to wifi and internet Guidance for human resource management were selection method, training system and communicate with employees via e-mail, facebook and Lineth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_150998.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.55 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons