Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9585
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเพาพะงา โพธิ์ไกร, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-18T03:19:18Z-
dc.date.available2023-09-18T03:19:18Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9585en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการของผู้ใช้บริการสถานีรถไฟกรุงเทพ (2)ศึกษาระดับคุณภาพบริการของสถานีรถไฟกรุงเทพตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ และ(3) เปรียบเทียบคุณภาพบริการของสถานีรถไฟกรุงเทพ จำแนกตามพฤติกรรมการใช้บริการประชากรในการศึกยาคือ ผู้โดยสารที่ใช้บริการสถานีรถไฟกรุงเทพซึ่งไม่ทราบจำนวนจึงกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยการคำนวณได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 385 คนและใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างตามความสะดวกเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ถือสถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด ผลการศึกษาพบว่า (1) พฤติกรรมการใช้บริการของผู้ใช้บริการสถานีรถไฟกรุงเทพ ส่วนใหญ่ใช้ขบวนรถไฟฟรี โดยเลือกใช้สถานีรถไฟกรุงเทพ เพราะสะดวกในการเดินทางมาใช้บริการ ช่วงเวลาที่ ใช้บริการมากที่สุดคือ 11.00-17.59 น. ใช้บริการที่จุดจำหน่ายตั๋วเดินทางมากที่สุด และทำการซื้อตั๋วที่สถานีรถไฟ (2) คุณภาพบริการของสถานีรถไฟกรุงเทพทั้งโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยอันดับแรกคือ ด้านความเชื่อถือไว้วางใจ รองลงมาคือค้านการตอบสนองต่อลูกค้า ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อลูกค้ำา ด้านการรู้จักและเข้าใจลูกค้าและด้านความเป็นรูปธรมของบริการตามลำดับ (3) การเปรียบเทียบคุณภาพบริการของสถานีรถไฟกรุงเทพ จำแนกตามพฤติกรรมการใช้บริการ มีความแตกต่างกันในด้านผู้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเพื่อใช้บริการสถานี โดยกลุ่มผู้ที่ตัดสินใจด้วยตนเองมีการรับรู้คุณภาพบริการมากกว่ากลุ่มผู้ที่ตัดสินใจเพราะผู้ร่วมเดินทางและครอบครัว และด้านช่วงเวลาใช้บริการสถานีรถไฟกรุงเทพมากที่สุดโดยกลุ่มที่ ใช้บริการช่วงเวลา 11.00-17.59 น. มีการรับรู้คุณภาพบริการมากกว่ากลุ่มที่ ใช้บริการช่วงเวลา 04.00-10.59 น. และ 18.00-23.59 น. ขณะที่กลุ่มที่ ใช้บริการช่วงเวลา 18.00-23.59 น. มีการรับรู้คุณภาพบริการมากกว่ากลุ่มที่ใช้บริการช่วงเวลา 04.00-10.59 น. อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสถานีรถไฟกรุงเทพ--การบริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleคุณภาพบริการของสถานีรถไฟกรุงเทพth_TH
dc.title.alternativeService quality of Bangkok Railway Stationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the consumer behavior of Bangkok Railway Station (2) to study the service quality level of Bangkok Railway Station as perceived by consumers behavior, and (4) to compare service quality of Bangkok Railway Station. 26 The total of 385 participants are passenger or customers, which be used to traveling at Bangkok Railway Station. By a random selection, which a questionnaire are used a tool of data collection. Descriptive statistics such as frequency, Percentage, Mean and Standard Deviation (S.D.), and Inferential statistics such as T-test, One Way ANOVA and Least Significant Difference (LSD) were employed. The findings reveal (1) The consumer behavior of Bangkok Railway Station find Reconsider your expression that the most of consumers take the free train at Bangkok Railway Station because this station were convenience to go, They are use the services time at 11:00 to 17:59, They are use the service and buy tickets at the ticket counter. (2) The service quality of Bangkok Railway Station as overall and specifically showed at high level, The first is reliability, the next are responsiveness, assurance,empathy, and tangibility. (3) Compare service quality of Bangkok Railway Station by consumer behavior showed the differences of person involved in the decision-making. The consumers are decided by themselves. The consumers are percept of service quality more than by companions or family. The difference of the services time which consumer be used the service at period of 11:00 to 17:59, that are percept of service quality more than period of 04.00-10.59 and 18.00-23.59. The consumers are used the services at period of 18:00 to 23:59, that are percept of service quality more than the period of 04:00 to 10:59 at the statistically significant difference of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_151735.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons