Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/958
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเกียรติ วัฒนาพงษากุลth_TH
dc.contributor.authorสุปราณี สีนวลน้อย, 2515-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T07:58:54Z-
dc.date.available2022-08-23T07:58:54Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/958en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประเพณีและความเชื่อในการเลี้ยงเด็กช่วง ขวบปีแรกของชาวมอญ และ (2) การเปลี่ยนแปลงประเพณี และความเชื่อในการเลี้ยงเด็กช่วงขวบปีแรกของชาวมอญที่อาศัยอยู่ในชุมชนหมู่บ้านบางกระดี่ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการวิจัย เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 15 คน ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ประเพณีและความเชื่อในการเลี้ยงเด็กช่วงขวบปีแรกของชาวมอญชุมชนหมู่บ้านบางกระดี่ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ประเภทแรก คือ ประเพณีและความเชื่อเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ ประเภทที่สองคือ ประเพณีและความเชื่อเกี่ยวกับการคลอดบุตร และประเภทที่สาม คือ ประเพณีและความเชื่อเกี่ยวกับการเลี้ยงเด็ก ประเพณีทั้ง 3 ประเภทนี้ชาวมอญปฎิบัติตามเพื่อให้มารดาและทารกมีความปลอดภัย รอดพ้นจากอันตราย และมีสุขภาพแข็งแรง จากการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงประเพณีและความเชื่อในการเลี้ยงเด็กช่วงขวบปีแรกของชาวมอญชุมชนหมู่บ้านบางกระดี่ พบว่าประเพณีและความเชื่อในการเลี้ยงเด็กช่วงขวบปีแรกบางประเพณียังคงรูปแบบเดิม และบางประเพณีมีการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้เอื้อด่อการดำรงชีวิตในปัจจุบัน สำหรับการเปลี่ยนแปลงเกิดจากปัจจัยทั้งภายในชุมชนและภายนอกชุมชน ชื่งปัจจัยภายในชุมชนได้แก่ การเปลี่ยนแปลงทางด้านสมาชิกในชุมชน การผสมกลมกลืนทางด้านวัฒนธรรม และการได้รับการศึกษา ส่วนปัจจัยภายนอกชุมชนได้แก่ การเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน อิทธิพลจากสื่อสารมวลชน และความกัาวหน้าทางด้านเทคโนโลยีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเด็ก--การเลี้ยงดูth_TH
dc.subjectความเชื่อth_TH
dc.subjectมอญ--ไทย--ความเป็นอยู่และประเพณีth_TH
dc.titleประเพณีและความเชื่อในการเลี้ยงเด็กช่วงขวบปีแรกของชาวมอญ ชุมชนหมู่บ้านบางกระดี่ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeTraditions and beliefs in raining a baby during its first year time of the Mon Bangkradi Village Community, Bang Khun Thian District, Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research was aimed to study: 1) traditions and beliefs in raising a baby during its first year time of the Mon Bangkradi Village Community of the Bangkhuntien District in Bangkok. 2) changes of traditions and beliefs in raising a baby during its first year time of the Mon Bangkradi Village Community of the Bangkhuntien District in Bangkok. This research used qualitative research and unstructured interview from a group of 15 specific samples. The results showed that the traditions and beliefs in raising a baby during its first year time of the Mon Bangkradi Village Community of the Bangkhuntien District in Bangkok can be divided into 3 categories: 1. traditions and beliefs about pregnancy, 2. traditions and beliefs about childbirth, 3. traditions and beliefs about raising a baby. The Mon people followed the traditions and beliefs because they believed that the mother and baby will be safe and free from harm all and healthy, the analysis of changes in traditions and beliefs in raising a baby during its first year time of the Mon Bangkradi Village Community found some change to facilitate life today. For the changes, they were caused by 2 factors which were the internal community factor and the external community factor. The causes effected from the internal community factor were: - changes in community members, cultural blend and more education received. And the causes effected from the external community were:- changes in the world, influence of mass media and the progress of technologyen_US
dc.contributor.coadvisorปรียา หิรัญประดิษฐ์th_TH
dc.contributor.coadvisorบำรุง คำเอกth_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (13).pdfเอกสารฉบับเต็ม4.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons