Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9632
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรีธนา บุญญเศรษฐ์ | th_TH |
dc.contributor.author | พรทิพย์ ชุมเสน, 2515- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-19T07:31:41Z | - |
dc.date.available | 2023-09-19T07:31:41Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9632 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรวิทยาลัยเกษตรและเทคโน ไลยีเพชรบูรณ์ (2 ศึกษาปัจจัยด้านงานและการจัดการที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์และ (3) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรวิทยาลัยเกษตรและเทคโนไลยีเพชรบูรณ์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ บุคลากรวิทยาลัยเกษตรและเทคโน โลยีเพชรบูรณ์จำนวน 74 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยการคำนวณจากสูตรของ ทาโร่ยามาเน่ได้จำนวน 63 คน ไคยสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทคสอบค่าที่ การทดสอบค่าเอฟ และการวิเคราะห์เชิงถดถอยพหุคูณผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพชรบูรณ์ โคยรวมอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณาเป็นราชค้านพบว่าค้านผลลัพธ์อยู่ในระดับสูงที่สุด รองลงมาอยู่ในระดับสูงคือ ค้านกระบวนการบริหาร และด้านค่าใช้จ่ายตามลำดับ (2) ปัจจัยด้านงานและการจัดการที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรวิทยาลัยกษตรและเทคนโลยีเพชรบูรณ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.05 ได้แก่ ความกั้วหน้าในการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ไดยร่วมกันทำนายประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรได้ร้อยละ 53 และ (3) บุคลากรวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ที่มีปัจจัยส่วนบุคคลด้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษาตำแหน่งงาน ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานแตกด่งกันมีประสิทธิภาพการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์--ข้าราชการและพนักงาน--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting performance efficiency of personnel at Phetchabun College of Agriculture and Technology | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were 1) to study the level of performance efficiency of personnel at Phetchabun College of Agriculture and Technology; 2) to study job and management factors that would affect their performance efficiency; and 3) to compare their performance efficiency, classified by personal factors. The population consisted of 74 employees at Phetchabun College of Agriculture and Technology. The sample consisted of 63 employees, calculated by using formulas of Taro Yamane, selected by stratified random sampling. A constructed questionnaire was used as a study instrument. The analytical statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA and multiple regression. The study results revealed that 1) the overall performance efficiency of personnel at Phetchabun was at the high level. As for each individual aspect, it was found that the result was at the highest, followed by management process and expense; (2) jobs and management factors that affected their performance efficiency, with a statistical significance at 0.05 level, were work progress and environment of working performance by predicting together with performance efficiency of employees at 53 percent; and 3) performance efficiency of personnel, classified by personal factors indicated that those with different genders, ages, marital status, educational levels, positions, and experiences, had no different performance efficiency | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_148112.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License