Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/963
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิศากร กะการดี, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T08:14:14Z-
dc.date.available2022-08-23T08:14:14Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/963-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความเหนื่อยหน่ายในการทำงานและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเหนื่อยหน่ายในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวายโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่ง 2) เปรียบเทียบความเหนื่อยหน่ายในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวายจำแนกตามแผนกที่ปฏิบัติงานานและ 3) แนวทางการจัดการเพื่อลดความเหนื่อยหน่ายในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวาย ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเหนื่อยหน่ายในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวายโดยรวมอยู่ในระดับน้อยเมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านความอ่อนล้าทางอารมณ์อยู่ในระดับปานกลางด้านการลดความเป็นบุคคลและการลดความสำเร็จส่วนบุคคลอยู่ในระดับน้อยโดยปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเหนื่อยหน่ายในการทำงานของพยาบาลเรียงจากมากไปน้อย ได้แก่ ภาระงานมากเกินไปอัตรากำลังพยาบาลไม่เพียงพอการทำงานเกินเกณฑ์มาตรฐานการทำงานที่กำหนดหัวหน้าหอผู้ป่วยขาดความเข้าใจผู้ปฏิบัติงานการแลกเวรทำได้ยากและอุปกรณ์ไม่เพียงพอ 2) พยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวายทั้งหน่วยงานพิเศษและแผนกผู้ป่วยในมีความเหนื่อยหน่ายในการทำงานมากกว่าพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวายแผนกผู้ป่วยนอกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 และ 3) แนวทางการจัดการเพื่อลดความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน ได้แก่ การลดภาระงานเอกสารการจัดอัตรากำลังพยาบาลให้เพียงพอการจัดเรียงลำดับความเร่งด่วนของงานการทำงานให้เร็วขึ้นแข่งกับเวลาการเพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสารกับผู้บังคับบัญชาการจัดหาอุปกรณ์เครื่อเครื่องมือให้เพียงพอการเพิ่มเงินค่าตอบแทนให้ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่มีภาระงานมากกว่าการมีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเพื่อนร่วมงานและการคิดบวกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความเหนื่อยหน่าย (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพth_TH
dc.titleความเหนื่อยหน่ายในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ เจนเนอเรชั่นวายโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งth_TH
dc.title.alternativeJob burnout of generation Y professional nurses at a government hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 160990.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons