Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9647
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรทัย อินต๊ะยศ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-21T02:38:47Z-
dc.date.available2023-09-21T02:38:47Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9647-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยด้านบุคคลและปัจจัยด้านการจัดการ ที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานสํานักงานพื้นที่พิเศษเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี (2) ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านบุคคลและปัจจัยด้านการจัดการกับประสิทธิภาพการทํางาน ของพนักงานสํานักงานพื้นที่พิเศษเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี (3) เสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้าง ประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานสํานักงานพื้นที่พิเศษเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ พนักงานสํานักงาน พื้นที่พิเศษเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี จํานวน 202คน โดยใช้ประชากรทั้งหมดทําการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามโดยมีค่าความเชื่อมันเท่ากับ 0.936 สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าที การวิเคราะห์ ความแปรปรวน และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) พนักงานส่วนใหญ่เป็นเพศชาย สถานภาพโสด มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี มีประสบการณ์การทํางานมากกว่า 6 ปี มีระดับรายได้ตํ่ากว่า 10,000 บาท มีระดับตําแหน่งเจ้าหน้าที่ระดับต้น และมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยด้านการจัดการที่ มีผลต่อประสิทธิภาพการทํางานในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลําดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านกลยุทธ์ด้านค่านิยมร่วม ด้านโครงสร้าง ด้านระบบการทํางาน ด้านทักษะ ด้านรูปแบบการบริหาร และด้านบุคลากร (2) พนักงานที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพการสมรส ประสบการณ์การทํางาน ระดับ รายได้ และระดับตําแหน่งแตกต่างกัน มีประสิทธิภาพการทํางานไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยด้านการจัดการ มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานอยู่ ในระดับ ปานกลาง (r =.515) ในทิศทางเดียวกัน (3) ผู้บริหารควรให้ความสําคัญในปัจจัยที่มีผลต่อการ ปฏิบัติงานทุกด้าน เน้นการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ ส่งเสริมให้พนักงานมีโอกาสพัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะในการปฏิบัติงาน และการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างพนักงานใน องค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี--การทำงานth_TH
dc.subjectประสิทธิผลองค์การth_TH
dc.subjectประสิทธิภาพth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนักงาน สำนักงานพื้นที่พิเศษเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing performance efficiency of employees at Chiang Mai Night Safarith_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study personal and management factors influenced performance efficiency of employees at Chiang Mai Night Safari; (2) to study the relationship among personal factors, management factors and performance efficiency of employees at Chiang Mai Night Safari; and (3) to suggest a guideline for improving performance efficiency of employees at Chiang Mai Night Safari. The study was a survey research. The total population were 202 employees. The questionnaire with 0.936 confidence value was used for data collection. The data was analyzed by using percentage, mean, standard deviation, t-test, analysis of variance, and Pearson’s Product Moment Correlation Efficient. The results of the study showed that (1) the majority of the respondents were single male, aged between 31 – 40 years, with undergraduate degree, more than 6 years working experience as operation workers, and less than 10,000 Baht income. Overall management factors influenced performance efficiency of employees were moderate in terms of strategy, shared value, structure, working system, skill, management style and personnel respectively; (2) employees with different gender, age, educational background, marital status, working experience, income and work position had no difference in performance efficiency at the statistical significance 0.05. Management factors related moderately at the same direction to performance efficiency; and (3) factors affected all performance focusing on strategic management, knowledge and skill development, employees’ relationship should be considered by the managementsen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146032.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.88 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons