Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9652
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภาณุพงศ์ ชุมวงค์, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-21T02:53:46Z-
dc.date.available2023-09-21T02:53:46Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9652en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทซิโน-ไทย สำนักงานโครงการก่อสร้างโรงผลิตไฟฟ้าขนอม นครศรีธรรมราช (2) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของพนักงานบริษัท ชิโน- ไทย จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานกับปัจจัยส่วนองค์กรบริษัทชิโน-ไทย (4) เพื่อเสนอแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทซิโน-ไทยประชากรที่ใช้ในศึกษา คือ บุคคลากรบริษัท ซิ โน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอน สตรัคชั่น จำกัดมหาชน สำนักงานโครงการก่อสร้างโรงผลิตไฟฟ้าขนอม นครศรีธรรมราช ได้แก่ฝ่ายปฏิบัติงานและฝ่ายสนับสนุนการดำเนินการ โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 174 คน เครื่องมือที่ใช้ คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบที่และแบบเอฟ ทดสอบเพื่อหาค่าเฉลี่ยรายคู่ที่แตกต่างกันอย่างมีนัขสำคัญทางสถิติและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า (1) ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท ชิโน-ไทย โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าพนักงานมีความคิดเห็นจากระดับมาถึงระดับปานกลาง คือ ด้านภาวะผู้นำและหัวหน้างานในการบริหาร ด้นวัฒนธรรมองค์กร ด้านคุณภาพงานที่ทำ ด้านความสำเร็จในงานที่ทำด้านโอกาสที่ได้รับในการแสดงความคิดเห็นการมีส่วนร่วม ด้านความสัมพันธ์ในองค์กร ด้านนโยบายและการบริหารด้านสภาพการทำงาน ด้านความมั่นคง ด้านปริมาณงานที่ทำและด้านความผิดพลาดในงานที่ทำตามลำดับ(2) พนักงานบริษัท ซิโน-ไทยจำแนกตามปัจจัชส่วนบุคคลของพนักงาน พบว่าพนักงานที่มีเพศ อายุงาน ตำแหน่งงานหรือสายงาน ประเภทของพนักงาน และทัศนคติในการทำงานแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน ส่วนพนักงานที่มีสถานภาพสมรสและการศึกยาแตกต่งกันมีความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัขสำคัญทางสถิติที่ 0.05 (3) ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ในภาพรวมระหว่างปัจจัยส่วนองค์กร มีความสัมพันธ์กันในระดับมากในทงบวกกับประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานของพนักงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 และ (1) ข้อแสนอแนะ ควรเสริมสร้างปัจจัยประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องปัจจัย 3 อันดับแรก ได้แก่ อยากให้มีหัวหน้างานพูดจาดี สื่อสารเรื่องงานที่ไพเราะ จำนวน 18 คน 2 อยากให้มีสิ่งจูงใจในการทำงานตามปริมาณงาน 16 คน และ 3 ควรเน้นความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานมากขึ้น 16 คนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัทซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น--พนักงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานบริษัทซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด มหาชน สำนักงานโครงการก่อสร้างโรงผลิตไฟฟ้าขนอม นครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting efficacy performances of employees of Sino-Thai Engineering & Construction Public Company Limited, Khanom Power Plant Project Nakhon Si Thammaraten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study were: (1) to investigate the level of employee’s performance efficiency of Sino-Thai Engineering & Construction Public Company Limited (STECON), Khanom Power Plant Project Nakhon Si Thammarat; (2) to compare employee’s efficiency of STECON categorizing by personal factors; (3) to determine the relationship between employees working efficiency and organizational factors of STECON; and (4) to offer guidelines on increasing employees staff efficiency in working. The population in this study was STECON's employees of Khanom Power Plant Project, Nakhon Si Thammarat. There were 174 participants as the study sampling included operation department and operation support department. The questionnaire was utilized as the research instrument. Data analysis was frequency, percentage, average standard deviation, t test, F-test, LSD and Pearson's Correlation Coefficient. The result found as follow: (1) the overall attitudes towards factors affecting employees’ performance efficiency of STECON was moderate. Regarding to personal attitudes, it revealed that the employees had high-level agreeing in terms of their supervisor's leadership, supervisor's administration, organizational cultures, operating quality and working accomplishment, respectively; (2) the comparison of the employees’ attitudes and factors affecting employees’ performance efficiency of STECON categorizing by personal factors was calculated. The results found that gender, working age, position or career path, types of employees and different working attitudes were the priority factors. These factors had no difference in attitudes towards factors affecting employees’ performance efficiency. On the other hands, the married and different educated employees had clear different attitudes towards factors affecting staff performance efficiency statistically significant at 0.05.; (3) the overall correlation coefficient of organizational factors has correlated in high-degree positive to the employees’ performance efficiency statistically significant at 0.01.; and (4) Recommendations should strengthen an extremely powerful factor in the ongoing first three factors would include one supervisor is flattering. Information about the melodic second of 18 people would have an incentive to run workloads based on 16 people and three should focus on relationships with colleagues more 16 peopleen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_148790.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons