Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9661
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมยุรี เรี้ยนสุวงษ์, 2503-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-21T03:27:52Z-
dc.date.available2023-09-21T03:27:52Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9661en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับของปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาพนักงานตามค่านิยมหลักองค์การของ บริษัท สุราบางขี่ขัน จำกัด (2) ศึกษาการใช้ค่านิยมหลักองค์การในการกำกับการดำเนินงานของพนักงาน บริษัท สุราบางขัน จำกัด (3) เปรียบเทียบการใช้ค่านิยมหลักองค์การในการกำกับการดำเนินงานของพนักงานบริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด โดยจำแนกตามปัจจัขส่วนบุคคล และ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาพนักงานตามค่นิยมหลักองค์การของ บริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด กับการใช้ค่านิยมหลักองค์การในการกำกับการดำเนินงานของพนักงานประชากรสำหรับการศึกษาในครั้งนี้ได้แก่พนักงานของบริษัทสุราบางยี่ขัน จำกัด จำนวนทั้งสิ้น 659 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ ตัวแทนของพนักงานของบริษัทสุราบางยี่ขัน จำกัด กำหนดขนาคของกลุ่มตัวอย่างโดยการใช้สูตรของทาโร ยามาน่ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบแบบเจาะจงได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 249 คน และเพื่อกวามกระจ่างและชัดเจน ในการเก็บข้อมูล ผู้ศึกษาเลือกเก็บข้อมูลจากกลุ่มด้วอย่างจำนวนทั้งสิ้น 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ทดสอบค่าที การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียวและค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์เพียร์สันผลการศึกษาพบว่า (1) พนักงานมีระดับของปัจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาพนักงานตามค่านิยมหลักองค์การของ บริษัท สุราบางขัน จำกัด ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือความผูกพันต่อองค์การ (2) ค่านิยมหลักองค์การในการกำกับการดำเนินงานของพนักงาน บริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด ภาพรวม อยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉสี่ยสูงสุดคือความมุ่งมั่นทั้งกายใจ (3) ผลการเปรียบเทียบการใช้ค่านิยมหลักองค์การในการกำกับการดำเนินงานของพนักงานจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพครอบครัว ระดับงานในหน้าที่ หน่วยงานที่สังกัด ประสบการณ์ทำงาน และรายได้ จากการศึกษา พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างระดับของปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาพนักงานตามค่านิยมหลักองค์การกับการใช้ค่านิยมหลักองค์การในการกำกับการดำเนินงานของพนักงาน พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกอยู่ในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectค่านิยมth_TH
dc.subjectการพัฒนาฝีมือแรงงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาพนักงานตามค่านิยมหลักองค์การของบริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัดth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting employees development of thaibev core values at Surabangyikhan Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study the level of factors affecting employees development of Thaibev Core Values at Sura Bangyikhan Co;Ltd.; (2) to examine the employees application of Thaibev Core Values at Work; (3) To Compare employees application of Thaibev Core Values Classified by personal factors; and (4) to study the relationship between factors affecting employees development and Thaibev Core Values at Sura Bangyikhan Co;Ltd. The samples used in this research were 400 employees at Surabangyikhan Company Limited from a total population of 659. The instrument employed for collecting data was a Likert scale questionaire. The statistical employed for data analysis included frequency percentage mean standard deviation and inferential statistics of t-test, One-way ANOVA, LSD ( Fisher’s Least Significant Difference) and Pearson correlation coefficient. The results from research were as follow: (1) the level of factors affecting employees development of Thaibev Core Values at Sura Bangyikhan Co;Ltd. were moderate in overall where the highest mean score was Employees Engagement. (2) the employees application of Thaibev Core Values at work was at high level in overall where the highest mean score was HEART. (3) In comparison of Thaibev Core Values as classified by personal factors, the research revealed a statistical significant differences in overall and by items at the level of 0.05. (4) as pertaining to the relationship between factors affecting employees development and employees application of Thaibev Core Values, the research revealed the moderate strength of relationship at 0.01 level of significanceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_148058.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons