Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9665
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณา ศิลปอาชา | th_TH |
dc.contributor.author | มะนิสา คงเพชรศักดิ์, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-21T03:47:27Z | - |
dc.date.available | 2023-09-21T03:47:27Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9665 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความพึงพอใจของพนักงานที่มีต่อสวัสดิการบริษัทคริสเตียนดิออร์ (ประเทศไทย) จำกัด และ (2) เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจด้านสวัสดิการบริษัทคริสเตียนดิออร์ (ประเทศไทย) จำกัด โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานบริษัทคริสเตียนดิออร์ (ประเทศไทย) จำกัดจำนวน 45 คน โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนและการทดสอบผลต่างน้อยที่สุดเป็นรายคู่ผลการศึกษาพบว่า (1) พนักงานส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง สถานภาพโสด มีอายุระหว่างอายุ 21-30 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี มีประสบการณ์การทำงานต่ำกว่า 5 ปี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า 45,000 บาทขึ้นไป มีระดับตำแหน่งเป็นพนักงานทั่วไป และมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อสวัสดิการของพนักงานในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านนันทนาการมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาได้แก่ด้านการศึกษา ด้านความมั่นคงปลอดภัยด้านเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ ตามลำดับ และ (2) พนักงานที่มีเพศ อายุ ระยะเวลาในการปฏิบัติงานและสถานภาพสมรสที่แตกต่างกัน จะมีความพึงพอใจในสวัสดิการด้านเศรษฐกิจแตกต่างกัน พนักงานที่มีเพศที่แตกต่างกันจะมีความพึงพอใจในสวัสดิการด้านความมั่นคงปลอดภัยแตกต่างกัน พนักงานที่มีระดับการศึกษารายได้และตำแหน่งงานที่แตกต่างกันจะมีความพึงพอใจสวัสดิการที่ได้รับไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สวัสดิการลูกจ้าง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | คุณภาพชีวิตการทำงาน | th_TH |
dc.title | ความพึงพอใจต่อสวัสดิการของพนักงานบริษัทคริสเตียนดิออร์ (ประเทศไทย) จำกัด | th_TH |
dc.title.alternative | Employee satisfaction towards welfare of Christian Dior (Thailand) Company Limited | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to study the level of employees’ satisfaction towards the welfare of Christian Dior (Thailand) Company Limited staffs; (2) to compare the welfare level of satisfaction of The Christian Dior (Thailand) Company Limited by personal factors of employees. The study was a survey research. The total populations were 45 employees. The survey questionnaires were used as an instrument to collect data. Data were analyzed by statistical tools including descriptive statistic which are frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, One-Way ANOVA, and Least Significant Difference and paired differences using LSD. The results of the study showed that (1) the majority of the respondents were single female, age between 21-30 years and graduated bachelor degree, less than 5 years working experience as an operation workers whose income is over than 45,000 Bath per month. Overall the employees’ satisfaction with the welfares is at the ‘moderate’ level. The rank from higher to lower of employee’s satisfaction level of each factor was as follows: recreation welfare, education and personnel development, safety welfare, economic welfare and healthy welfare; and (2) Employees with different gender, age, length of service and marital status influence on welfare service differently in category of economic welfare. Employees with different gender influence on welfare service differently in category of safety welfare. Employees with different education, income and position has no difference in the satisfaction level on welfare service with statistical significance at the 0.05 level. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_149036.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License