Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9666
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนัญชนก ชื่นเชื่อม, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-21T03:49:15Z-
dc.date.available2023-09-21T03:49:15Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9666-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฎพระ นคร จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล (3) เสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การ ของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร จำนวน 821 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ ทาโร ยามาเน่ ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 269 คน สุ่มตัวอย่าง ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในเก็บข้อมูล คือแบบสอบถามซึ่งมีคำความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.979 สถิติที่ใข้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ คำเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ ทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่าง นัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับความผูกพันอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านความเต็มใจและทุ่มเทในการทำงานเพื่อองค์การ รองลงมาคือด้านความภูมิใจในการเป็นส่วนหนึ่งขององค์การ ด้านความศรัทธาและการยอมรับในเป้าหมายและคุณค่าขององค์การส่วนความผูกพันที่อยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านความต้องการที่จะดำรงความเป็นสมาชิกภาพขององค์การ (2) บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครที่มีเพศอายุ สถานภาพทางการสมรสระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และระยะเวลาปฏิบัติราชการที่แตกต่างกันมีความผูกพันต่อองค์การที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนบุคลากรที่มีตำแหน่งที่แตกต่างกันมีความผูกพันต่อองค์การไม่ แตกต่างกัน (3) แนวทางในการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การ ผู้บริหารควรเปิดโอกาสให้บุคลากร พัฒนาศักยภาพให้สูงขึ้นโดยการส่งไปอบรม ดูงาน บุคลากรควรมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและ เป้าหมายขององค์การ ระบบการพิจารณาความดี ความชอบ การให้รางวัลผลตอบแทน และที่สำคัญคือการ ให้โอกาสที่บุคลากรได้รับการเลื่อนขั้นและตำแหน่งที่มีความก้าวหน้ายิ่งขึ้น ควรส่งเสริมและสนับสนุน บุคลากรที่ทำผลงานได้ดี ทำให้บุคลากรมีความตระหนักถึงความเป็นส่วนหนึ่งขององค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectความภักดีของลูกจ้างth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครth_TH
dc.title.alternativeOrganizational commitment of employees of Phanakhon Rajabhat Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were (1) to study the levels of the organizational commitment of employees of Phanakhon Rajabhat University; (2) to compare the organizational commitment of employees of Phanakhon Rajabhat University classified by personal characteristics; and (3) to suggest the ways for developing the organizational commitment of employees of Phanakhon Rajabhat University. Population was 821 employees of Phanakhon Rajabhat University. The sample was 269 employees using Stratified sampling method and Yamane’s formula. Questionnaires with reliability value of 0.979 were used for data collection. The data was analyzed by using percentage, arithmetic mean, standard deviation, t-Test, Oneway ANOVA, and LSD test. The results showed that (1) overall employees of Phanakhon Rajabhat University had the organizational commitment at high level in terms of employees’ willingness and commitment to keep working for the organization, becoming a part of the organization proudly, and the faith and recognition of goals and value of the organization, respectively. While the desire for maintaining the organizational membership was considered at the moderate level; (2) employees with different gender, age, marital status, educational level, income, and working experience had different the organizational commitment of statistically significant at the 0.05 level. Employees with different work position had no difference in the organizational commitment; and (3) the management should provide a chance for employees to enhance their abilities by attending the training courses. Participating in organizational policy and goals establishment, considering employees’ benefits by using merit system, providing an opportunity for job promotion and supporting the outstanding employees which made them realize as a part of the organization were also essential.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137208.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons