Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9680
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา โตโพธิ์ไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเดชา กาญวงษา, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-21T08:09:28Z-
dc.date.available2023-09-21T08:09:28Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9680-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาตามความ คิดเห็นของนักศึกษาวิทยาลัยการอาชีพหนองกุงศรี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาวิทยาลัยการอาชีพหนองกุงศรี จำนวน 286 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่านักศึกษาวิทยาลัยการอาชีพหนองกุงศรี มีความคิดเห็นต่อการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดในแต่ละด้าน คือ (1) ด้านวัสดุอุปกรณ์ และส่วนประกอบคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา คือมีการจัดหาอุปกรณ์ที่ใช้ในการสำรองข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมมาใช้เพื่อการศึกษา (2) ด้านโปรแกรมการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาคือมีการติดตั้งโปรแกรมประมวลผลคำบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้เพื่อการศึกษา (3) ด้านบุคลากรเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา คือครู หรือเจ้าหน้าที่ ที่ดูแลและรับผิดชอบห้องคอมพิวเตอร์แต่งกายสุภาพ และเรียบร้อย (4) ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา คือ ความเร็วของอินเทอร์เน็ตมี ความเหมาะสมและเพียงพอ (5) ด้านสถานที่ในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา คือ มีการจัดบรรยากาศในห้องคอมพิวเตอร์ให้น่าเข้าใช้งาน (6) ด้านความรู้ในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา คือมีความรู้ในด้านความรู้พื้นฐานของการใช้คอมพิวเตอร์ เกี่ยวกับส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (7) ด้านทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา คือทักษะพื้นฐานของการใช้คอมพิวเตอร์เกี่ยวกับทักษะความสามารถใน การเปิดและปิดเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างถูกวิธี และ (8) ด้านคุณธรรมจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา คือไม่ใช้คอมพิวเตอร์ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอน--วิจัยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาตามความคิดของนักศึกษาวิทยาลัยการอาชีพหนองกุงศรีสังกัดสำนักงานคณะกรรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์th_TH
dc.title.alternativeThe use of computers for education of Nong Kungsri Industrial and Community Education College Students under Kalasin Provincial Office of the Vocational Education Commissionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the use of computers for education as perceived by students of Nong Kungsri Industrial and Community Education College under Kalasin Provincial Office of the Vocational Education Commission. The research sample comprised 286 students of Nong Kungsri Industrial and Community Education College, obtained by stratified random sampling. The employed research instrument was a questionnaire on the use of computers for education. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings revealed that Nong Kungsri Industrial and Community Education College students perceived that their overall use of computers for education was at the moderate level. When specific aspects of computer usage were considered, it was found that the use in every aspect was at the moderate level. Each aspect of computer usage with the item that received the highest rating mean was specified as follows: (1) in the aspect of the accessories and components of computers for education, the item was that of the procurement of appropriate and efficient equipment for data storage; (2) in the aspect of computer usage program for education, the item was that of the installation of word processing program on computers for use in education; (3) in the aspect of the personnel concerned with computer usage for education, the item was that of the teachers or personnel in charge of the computer room dressing politely and neatly; (4) in the aspect of computer network system for education, the item was that of the speed of the Internet being sufficient and appropriate; (5) in the aspect of the place for using computers for education, the item was that of the atmosphere in the computer room being conducive for work; (6) in the aspect of knowledge on the use of computers for education, the item was that of having basic knowledge on the use of computers and computer components; (7) in the aspect of skills in using computers for education, the item was that of basic skills of computer usage including how to open and close the computer correctly; and (8) in the aspect of morality and ethics in the use of computers for education, the item was that of not using computers to violate the rights of the others.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148818.pdf12.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons