Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9683
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรางคณา โตโพธิ์ไทย, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ทริณทร์รัฐ อรรคฮาด, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-22T01:52:00Z | - |
dc.date.available | 2023-09-22T01:52:00Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9683 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพนมไพรวิทยาคาร จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนพนมไพรวิทยาคาร จังหวัดร้อยเอ็ด ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 291 คนโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพนมไพรวิทยาคาร มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมาก 4 ด้านได้แก่ (1) วัตถุประสงค์ ของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือใช้เพื่อนำเข้าสู่บทเรียน (2) คุณภาพของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ มีความทันสมัย (3) ลักษณะการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ใช้สำหรับการค้นคว้าหาความรู้ (4) ประโยชน์ของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ส่วนด้านที่อยู่ในระดับปานกลางมี 2 ด้าน ได้แก่ ประเภทของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ สไลด์ คอมพิวเตอร์ และปัญหาของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ เครื่องมืออุปกรณ์มีจำนวนจำกัด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สื่ออิเล็กทรอนิกส์ | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | th_TH |
dc.title | การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนพนมไพรวิทยาคาร จังหวัดร้อยเอ็ด | th_TH |
dc.title.alternative | The uses of electronic media for teaching and learning in science courses by upper secondary students at Phanom Phrai Witthayakhan school in Roi Et Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the uses of electronic media in teaching and learning in science courses by upper secondary students at Phanom Phrai Witthayakhan School in Roi Et province. The research sample comprised 291 upper secondary students of Phanom Phrai Witthayakhan School in Roi Et province during the first semester of the 2015 academic year, obtained by stratified random sampling. The employed research instrument was a questionnaire on the uses of electronic media in teaching and learning in science courses. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings revealed that the upper secondary students at Phanom Phrai Witthayakhan School had opinions that the overall uses of electronic media in teaching and learning in science courses was at the high level. When specific aspects of the uses were considered, it was found that the uses in four aspects were at the high level. These four aspects with their items that received the highest rating mean were specified as follows: (1) the aspect of objectives for using electronic media, with the item: using the media for introduction to the lesson; (2) the aspect of quality of electronic media, with the item: the media are up-to-date; (3) the aspect of characteristics of the uses of electronic media, with the item: using the media for retrieval of knowledge; and (4) the aspect of benefits of using electronic media, with the item: the students can learn by themselves. On the other hand, the uses in two aspects were at the moderate level. These two aspects with their items that received the highest rating mean were specified as follows: the aspect of types of electronic media being used, with the item: computer slides; and the aspect of problems of using electronic media, with the item: the insufficiency of computers and accessories. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
148525.pdf | 12.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License