Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9694
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุจ ศิริสัญลักษณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดิเรก ทองอร่าม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวินัย ปลัดสงคราม, 2492--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-23T08:45:39Z-
dc.date.available2023-09-23T08:45:39Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9694-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา ปัจจัยทิ่มีผลต่อประสิทธิภาพ การผลิตลองกองของเกษตรกร ใน อำเภอสุไหงโก-ลก วังหวัดนราธิวาส ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นชาย อายุระหว่าง 41 - 60 ปี นับถือศาสนาอิสลาม จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนระหว่าง 5 - 8 ราย รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือน84,022.31 บาทต่อปี ผลผลิตในปีที่ผ่านมาเฉลี่ย 140.85 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนใหญ่ใช้เงินทุนของตนเองในการผลิตลองกองในด้านการผลิตลองกอง พบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่มีประสิทธิภาพในการผลิดลองกองอยู่ในระดับปานกลาง คือมีการปฏิบัติถูกต้องในด้านการใส่ปุ๋ย การใช้ร่มเงา การดัดแต่งกิ่ง การป้องกันและกำจัดแมลงสัตว์ลองกอง และการป้องกันและกำจัดสัตว์ศัตรูลองกอง ส่วนการปฏิบัติที่ใม่ถูกต้อง คือ การใช้ขนาดหลุมปลูก การป้องกันและกำจัดโรคลองกอง และการจัดระบบการให้นำที่ไม่ถูกต้อง เกษตรกรกลุ่มที่ปลูกลองกองในพื้นที่มากกว่า 3 ไร่ มีความแดกต่างกับเกษตรกรที่ปลูกลองกองในพื้นที่ไม่เกิน 3 ไร่ ในบางประการ ได้แก่ รายได้ของครัวเรือน ประสิทธิภาพการผลิต ปัญหาการจัดการการผลิตปัญหาการคลาดและการขนส่ง และปัญหาด้านสภาพแวดล้อม เมื่อศึกษาตัวแปรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์หรือขึ้นอยู่กับการพื้นที่ปลูกลองกองมากกว่า 3 ไร่ หรือไม่เกิน 3 ไร่ ของเกษตรกร พบว่าตัวแปรที่สำด้ญคือ วิธีการจำหน่ายผลผลิต สภาพการผลิต เช่น ระยะปลูก ขนาดของหลุมปลูก การป้องกันและกำจัดศัตรูลองกอง การรับบริการส่งเสริมและข้อมูลข่าวสาร เช่น การเข้าร่วมชมนิทรรศการและการสาธิต การรับข่าวสารจากวิทชุกระจายเสิยง และตัวแปรด้านความต้องการเทคโนโลยีในการจัดการการผลิตลองกองการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการผลิตลองกองของเกษตรกร พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำกัญทางสกิติกับประสิทธิภาพในการผลิตได้แก่ การมีปัญหาด้านการจัดการการผลิต ปัญหาการจัดการหลังเก็บเกี่ยว ปัญหาการกัดคุณภาพลองกอง และความต้องการการส่งเสริมเทคโนโลยีด้านการจัดการการผลิตลองกองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--นราธิวาสth_TH
dc.subjectลองกอง--การผลิตth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการการผลิตลองกองของเกษตรกร ในอำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาสth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting Longkong production management for the farmers in Sungai-kolok District, Narathiwat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
76393.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons