Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/970
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตรา วีรบุรีนนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุดจิต เจนนพกาญจน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorไพฑูรย์ มีกุศล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสกุณา กวินยั่งยืน, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T08:30:38Z-
dc.date.available2022-08-23T08:30:38Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/970-
dc.descriptionทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความเป็นมาของสถานภาพและบทบาทของหญิงชาวม้ง บ้านเข็กน้อย ตำบลเข็กน้อย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ (2) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในปัจจุบันที่มีต่อสถานภาพและบทบาทของหญิงชาวม้ง บ้านเข็กน้อย ตำบลเข็กน้อย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ (3) เพื่อหาแนวทางในการส่งเสริมสถานภาพและบทบาทของหญิงชาวม้ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณคือ ชาวม้งบ้านเข็กน้อย จำนวน 290 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพคือ กลุ่มผู้นำชาวม้งบ้านเข็กน้อย จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณคือ แบบสอบถาม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพคือ แบบสัมภาษณ์เจาะลึก และแบบสำรวจขุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติค่าร้อยละและการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า (1) จากประเพณีวัฒนธรรมของชาวม้งในเรื่องการสืบทอดตระกูลทางฝ่ายชาย และสังคมชาวม้งที่มีลักษณะ "สังคมชายเป็นใหญ่" ทำให้ผู้หญิงมีสถานภาพและบทบาทด้อยกว่าผู้ชาย ซึ่งสามารถแบ่งสถานภาพและบทบาทหญิงชาวม้งบ้านเข็กน้อย ได้ 3 ยุค คือ 1. ยุคเริ่มแรกการตั้งถิ่นฐานบ้านเข็กน้อย (พ.ศ. 2488-2510) หญิงชาวม้งมีสถานภาพที่ต่ำกว่าชายทุกด้าน และมีบทบาทสำคัญคือ การทำงานบ้านกับงานในไร่ โดยแทบไม่มีบทบาททางสังคมเลย 2. ยุคการรับอิทธิพลจากสังคมภายนอก (พ.ศ. 2510-2525) สถานภาพของหญิงชาวม้งในยุคนี้ยังต่ำกว่าชาย แต่หลังจากที่ได้รับอิทธิพลจากนโยบายของรัฐบาล และปัญหาจากภัยคอมมิวนิสต์ทำให้ชาวม้งมีบทบาททางการเมืองชั่วคราว คือ การมีบทบาท "เป็นชาวเขาอาสาสมัคร" เพื่อต่อต้านคอมมิวนิสต์ นอกจากนี้การที่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวทำให้งานหัตถกรรมของชาวม้งกลายเป็นสินค้า จึงทำให้หญิงชาวม้งมีบทบาทเพิ่มขึ้นอีกด้านหนึ่ง คือ การหารายได้ให้กับครอบครัว 3. ยุคการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (พ.ศ. 2525 - ปัจจุบัน) หญิงชาวม้งมีสถานภาพและบทบาทที่หลากหลายมากขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากการพัฒนาภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กว่า 40 ปี ทั้งด้านการศึกษา เศรษฐกิจ การเมือง และกฎหมาย (2) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในปัจจุบัน ทำให้ชาวม้งเปลี่ยนแปลงค่านิยมและวิถีชีวิต เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากสังคมไทยและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปภายในสังคมม้ง โดยชาวม้งนิยมส่งลูกชายและลูกสาวเรียนหนังสืออย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น ทำให้ผู้หญิงมีการศึกษาสูงก็จะมีสถานภาพที่สูงขึ้น รวมทั้งมีบาบาทในการพัฒนาชุมชนมากขึ้น นอกจากนี้จากสภาพที่บีบคั้นทางเศรษฐกิจทำให้หญิงชาวม้งมีบทบาทในการทำงานหารายได้ไปให้กับครอบครัวเช่นเดียวกับผู้ชาย ทำให้มีอำนาจทางเศรษฐกิจมากขึ้น (3) แนวทางในการส่งเสริมสถานภาพและบทบาทของหญิงชาวม้ง คือ ควรส่งเสริมการศึกษาให้แก่ประชากรในชุมชนมากขึ้น ควรปลูกฝังค่านิยมความเท่าเทียมของชายหญิงภายในครอบครัว และเปิดโอกาสให้ผู้หญิงเป็นผู้นำทางการเมือง เพื่อให้ผู้หญิงได้มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายเพื่อพัฒนาสถานภาพและบทบาทของหญิงชาวม้ง อีกทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา ควรมีการกระจายทรัพยากรบุคคล และทรัพยากรเงินเข้าไปช่วยในการพัฒนาสถานภาพและบทบาทของหญิงชาวม้ง และควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความเสมอภาคของหญิงชาวม้งและชายเพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาสถานภาพและบทบาทรวมทั้งด้านอื่นๆ ต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.45-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectม้ง--ภาวะสังคมth_TH
dc.subjectม้ง--ไทยth_TH
dc.subjectสถานภาพทางสังคมth_TH
dc.titleสถานภาพและบทบาทของหญิงชาวม้ง : กรณีศึกษาบ้านเข็กน้อย ตำบลเข็กน้อย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeThe status and role of Hmong Females : a case study of the Kheknoi Village in the Kheknoi Sub-District of the Khaokho District in Phetchabun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.45-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) the history of the status and the roles of Hmong females at the Kheknoi Village of the Kheknoi Sub-District of the KhaoKho District in Phetchabun Province, (2) the effects from the changes in society nowadays, and the status and the roles of Hmong females, and (3) to search for a method to enhance the status and roles of Hmong females. The population for the quantitative analysis method was 290 Hmong in Kheknoi Village and the qualitative analysis method was 10 Hmong females in Kheknoi Village. The instrument for the quantitative research was a questionnaire and for the qualitative instrument was in-depth interview and community survey. Data analysis in the quantitative method was percentage statistic, and in the qualitative method was depicting analytics. Research results: (1) from the culture and tradition of Hmong that inherited the family line through men, and the characteristic of the Hmong society that “male is superior”, those caused the ladies to have inferior status and roles to men. The status and roles of Hmong females can be divided into 3 eras; 1. Ban Kheknoi first emigrated era (1945 - 1967) when Hmong females had a totally inferior status to men. Their important roles were doing the housework and farming. They had no role in the society. 2. Receiving influence from outside society (1967-1982) when the status of Hmong females was still inferior to the men. But after the Hmong received influence from political policy, and the problems from communism; this caused the Hmong females to have temporary political roles which were “as hill tribe volunteers”, so they could go against communism. And also when the economic and national society were developed to support tourism causing Hmong handicrafts to become local products, so Hmong females had a one more role, which was to support the families. 3. Society conversion era (1982-now) when Hmong females had a variety of roles and their status changed because of development under the economic and national society development plan. This included education, economics, politics, and legislation. (2) the effect from the changes in society nowadays caused the Hmong to change their values and lifestyles. Hmong received influence from Thai society and Hmong social surroundings were changed. Now they tend to support both sons and daughters equally in education. Therefore the higher educated women will have higher status and higher roles in society development Not only this, but also the oppression from the economy, Hmong females now have more roles in supporting the families as men, which causes more power in the economy. (3) the guidelines to enhance the status and roles of Hmong females are to increase education for the people in the community, educating the equality value of men and women in a family, and giving opportunity for the women to be political leaders such as village head or district committee chair so that women would be able to participate in specifying policy for continual development of the status and roles of Hmong females. Also the organization involved should spread out human resources and financial resources to help development. And they should also have some research on the equality of Hmong men and women in order to be a continuous direction in status and role developmenten_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (16).pdfเอกสารฉบับเต็ม7.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons