Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9729
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบุญเสริม หุตะแพทย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุนทร แย้มศรี, 2503--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-25T06:23:58Z-
dc.date.available2023-09-25T06:23:58Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9729-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) ศึกษาสภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรชาย-หญิง ที่มีส่วนในการวางแผนส่งเสริมการเกษตรระดับชุมชนแบบมีส่วนร่วม (2) ศึกษาบทบาทการมีส่วนร่วมของเกษตรกรชาย-หญิง ในขั้นตอนต่างๆ ของการวางแผนส่งเสริมการเกษตรระดับชุมชนแบบมีส่วนร่วม (3) ศึกษาความแตกต่างของบทบาท การมีส่วนร่วมของเกษตรกรชาย-หญิง ในขั้นตอนต่างๆ ของการวางแผนส่งเสริมการเกษตรระดับชุมชนแบบมีส่วนร่วม (4) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกรชาย-หญิง ที่เกี่ยวกับการวางแผนส่งเสริมการเกษตรระดับชุมนแบบมีส่วนร่วม ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรชายส่วนใหญ่มีอายุเฉลี่ย 44 ปี นับถือศาสนาพุทธ จบการศึกษาภาคบังคับ อาศัยอยู่ในชุมชนมาตั้งแต่บรรพบุรุษ มีสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 5 คน เป็นหัวหน้าครอบครัว มีส่วนน้อยที่มีตำแหน่งทาง สังคม ส่วนมากมีอาชีพหสักโดยการทำไร่ อาชีพรองเลี้ยงสัตว์มีพื้นที่ถือครองเฉลี่ยครอบครัวละ 18 ไร่ มีรายได้เฉลี่ย 75,513 บาท และมีรายจ่ายเฉลี่ย 86,234 บาทต่อปี ส่วนเกษตรกรหญิง ส่วนใหญ่มีอายุเฉลี่ย 42 ปี นับถือศาสนาพุทธ จบการ ศึกษาภาคบังคับ อาศัยอยู่ในชุมชนมาตั้งแต่บรรพบุรุษ มีสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4 คน เป็นแม่บ้านของครอบครัว มีส่วนน้อยที่มีตำแหน่งทางสังคม ส่วนมากมีอาชีพหลักโดยการทำไร่อาชีพรองเลี้ยงสัตว์ มีพื้นที่ถือครองเฉลี่ยครอบครัวละ 17 ไร่ มีรายได้เฉลี่ย 69,725บาท และมีรายจ่ายเฉลี่ย 85,603 บาทต่อปี (2) เกษตรกรชาย-หญิง เกือบทั้งหมค มีบทบาทในขั้นตอนต่างๆ ของการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนส่งเสริมการเกษตรระดับชุมชนแบบมีส่วนร่วมโดยมีบทบาทในการมีส่วน ร่วมอยู่ในระดับน้อยถึงปานกลาง (3) เกษตรกรชาย - หญิง มีบทบาทในการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนส่งเสริมการเกษตร ระดับชุมชนแบบมีส่วนร่วม แตกต่างกันในขั้นตอนการเตรียมการจัดทำแผนส่งเสริมการเกษตรระดับชุมชนแบบมีส่วน ร่วม โดยเกษตรกรขายมีบทบาทในการมีส่วนร่วมมากกกว่าเกษตรกรหญิง ส่วนในขั้นคอนอี่นๆ ไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิติ (4) เกษตรกรชาย-หญิง มีปัญหาในกาจัดทำแผนส่งเสริมการเกษตรระดับชุมชนแบบมีส่วนร่วมในขั้นตอนการ เตรียมการก่อนดำเนินการจัดทำแผน โดยเฉพาะกิจกรรมในการคัดเลือกตัวแทนชุมชน ซึ่งเกษตรกรชาย-หญิง เสนอแนะให้ ผู้นำชุมชนและเกษตรกรในชุมชนเป็นผู้ดำเนินการคัดเลือกเอง โดยมีการประชุมชี้แจงให้คนในชุมชนทราบก่อนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectเกษตรกร--ไทยth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตรth_TH
dc.titleบทบาทชาย-หญิง ในการวางแผนส่งเสริมการเกษตรระดับชุมชน แบบมีส่วนร่วมในจังหวัดสุพรรณบุรีth_TH
dc.title.alternativeGender roles for participatory community development plan for agricultural extension in Phetchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
76398.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons