Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9731
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมจิต โยธะคง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปัญญา หิรัญรัศมี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัครพล โอวาท, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-25T06:38:37Z-
dc.date.available2023-09-25T06:38:37Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9731-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร (2) การจัดการการผลิตของเกษตรกร (3) การจัดการการตลาดของเกษตรกร (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะการ จัดการการผลิตและการตลาดของเกษตรกรผู้ปลูกต้นเขียวหวาน ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพเศรษฐกิจและลังคมของเกษตรกรผู้ปลูกส้มเขียวหวาน เกษตรกรส่วน ใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41-50 ปื มีการศึกษาภาคบังคับและต่ำกว่า ย้ายถิ่นมาจากจังหวัดอื่น เหตุผลที่ปลูกส้มเขียวหวานเพราะมีรายได้ดี รายได้และรายจ่ายของครอบครัว อยู่ระหว่าง 100,000-500,000 บาท/ปี (2) การจัดการการผลิตของเกษตรกร ส่วนมากจ้างแรงงานช่วยในการปลูกส้มเขียวหวาน ทุกขั้นตอน วิธีการขยายพันธุ์ส้มเขียวหวานที่เกษตรกรนิยม คือ การใช้กิ่งตอน การปลูกส้มเขียวหวานส่วนใหญ่เกษตรกร ปลูกโดยวิธีการยกร่อง วิธีปฎิบ้ติของเกษตรกรที่จะทำให้ได้ผลผลิตลูงสุด คือ มีการกักนํ้าให้ส้มออกดอกให้เต็มที่ แล้วดูแลบำรุงรักษาให้ต้นส้มเขียวหวานสมบูรณ์ (3) การจัดการการตลาด เกษตรกรส่วนใหญ่จำหน่ายส้มเชียวหวาน โดยไม่คัดเกรด นิยมจำหน่ายผ่านพ่อค้าคนกลาง โดยพ่อค้าคนกลางจะมารับชื้อถึงสวน และชำระ เงินค่าขายส้มเป็นเงินสด (4) ปัญหาในด้านการจัดการการผลิตและการตลาดส้มเขียวหวาน จะมีปัญหา เกี่ยวกับเงินทุน โรคและแมลง ราคาและตลาดที่รับชื้ออยู่ไกล เกษตรกรมีข้อเสนอแนะด้านสินเชื่อให้รัฐปล่อย สินเชื่อทางการเกษตรเพิ่มขึ้น และลดขั้นตอนในการปล่อยสินเชื่อให้น้อยลง มีการจัดตลาดกลางเพื่อรับชื้อ ผลผลิต สำหรับสมมติฐานในการวิจัย พบว่าระดับการศึกษาและรายได้มีผลต่อการจัดการการผลิตและการตลาด ลักษณะการจ้างงานและราคาส้มเขียวหวานที่จำหน่ายไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectส้ม--การผลิตth_TH
dc.subjectส้ม--การตลาดth_TH
dc.subjectสินค้าเกษตรth_TH
dc.titleการจัดการการผลิตและการตลาดของเกษตรกรผู้ปลูกส้มเขียวหวาน ในจังหวัดกำแพงเพชรth_TH
dc.title.alternativeProduction and marketing management by tangerine gardeners in Khamphaeng Phet Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
76399.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons