Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9733
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมจิต โยธะคง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปัญญา หิรัญรัศมี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฉลวย ดวงดาว, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-25T06:53:09Z-
dc.date.available2023-09-25T06:53:09Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9733-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาลักษณะพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรที่ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์กับการปลูกกล้วยหอมทองเพื่อการส่งออก อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี (2) ศึกษาการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ กับการปลูกกล้วยหอมทองเพื่อการส่งออก (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะ การวิจัยปรากฎผลว่า (1) เกษตรกรเป็นเพศชาย อายูระหว่าง 36-45 ปี จบการศึกษาภาคบังคับ (ป.4 หรือป.6) ประกอบอาชีพหลักเกษตรกรรม มีสมาชิกและ มีแรงงานในครัวเรือน 2 - 4 คน มีพื้นที่ถือครองเพื่อการเกษตร เฉลี่ย 25.58 ไร่ มีพื้นที่ปลูกกล้วยหอมทองเพื่อการส่งออก 3 ไร่ ได้ผลผลิตกล้วยหอมทอง 2,001-3,000 กิโลกรัมต่อไร่จำหน่ายได้ในราคา9-10 บาทต่อกิโลกรัม มีรายได้ภาคเกษตรเฉลี่ย 173,440.22 บาทต่อปีต่อครัว เรือน มีรายจ่ายในการประกอบอาชีพเฉลี่ย 81,309.40 บาทต่อครัวเรือนต่อปี (2) ส่วนมากใช้ปุ๋ยคอกโดยเฉพาะมูล ไก่ ใช้ในอัตรา 2 ตันต่อไร่ ต่อครั้ง จำนวน 2 ครั้งต่อหนึ่งฤลูกาลผลิต เหตุที่เลือกใช้เพราะราคาถูก มีผลกระทบ ทางบวก คือ ใช้แล้วคุณภาพดินดีขึ้น แต่มีผลกระทบทางลบ คือ ทำให้สิ้นเปลืองแรงงาน ชึ่งมีประสบการณ์ในการใช้มาแล้วมากกว่า 6 ปีโดยได้รับความรู้จากหน่วยงานของรัฐ ตัดสินใจใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพราะต้องการสนองนโยบาย การส่งออกและการตลาด (3) เกษตรกรมีปัญหาเกี่ยวกับการขนส่ง ต้องการได้รับการสนับสนุนด้านวัสดุอุปกรณ์ ในการผลิต (4) ผลการวิเคราะให้หาความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ในการใช้ปุ๋ยอินทรีย์กับการปลูกกล้วยหอมทองเพื่อการส่งออกกับรายได้ไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectกล้วยหอมทอง--การปลูกth_TH
dc.subjectปุ๋ยอินทรีย์th_TH
dc.titleการใช้ปุ๋ยอินทรีย์กับการปลูกกล้วยหอมทอง เพื่อการส่งออกของเกษตรกร อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรีth_TH
dc.title.alternativeUse of organic manure in Klaui Hom Thong (Musa sapientum Linn.) cultivation for export by farmers in Thayang District, Phetchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
76400.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons