Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9757
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนพวรรณ มิตทจันทร์, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-27T02:08:13Z-
dc.date.available2023-09-27T02:08:13Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9757-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับพฤติกรรมในการทำงาน และคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขต 4 อำเภอ ของจังหวัดสงขลา (2) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขต 4 อำเภอ ของจังหวัดสงขลา จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมในการทำงานกับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขต 4 อำเภอ ของจังหวัดสงขลา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในเขต 4 อำเภอ ของจังหวัดสงขลา จำนวน 648 คน คำนวณจำนวนกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 248 ตัวอย่าง โดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โคยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลื่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ ความแปรปรวน และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับพฤติกรรมในการทำงานของพนักงานองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในเขต 4 อำเภอ ของจังหวัดสงขลา ทั้ง 5 ปัจจัย อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.62 ส่วนระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขต4 อำเภอ ของจังหวัดสงขลา ทั้ง : ปัจจัย อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.06 (2) ปัจจัยส่วนบุคคลค้านเพศ อายุ สถานภาพ ตำแหน่ง และอัตราเงินเดือน มีคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขต 4 อำเภอ ของจังหวัดสงขลา ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ .05 และ (3 พฤติกรรมในการทำงานของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขต 4 อำเภอ ของจังหวัดสงขลา ด้านความพึงพอใจในการทำงานมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานเชิงบวก (r = 0.156) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น--ไทย--สงขลาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน 4 อำเภอ ของจังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeQuality of working life for local government officials at 4 Districts in Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed: (1) to study working behavior level and quality of work life of local government officials at 4 districts in Songkhla province (2) to compare quality of work life of local government officials at 4 districts in Songkhla province classified by personal factors; and (3) to study relationship between working behavior and quality of work life of local government officials at 4 districts in Songkhla Province. This study was a survey research. Total population was 648 local government officials at 4 risk districts in Songkhla province. The 248 samples calculated by Yamane’s formula with 95% confidence level and used stratified random sampling method. The data was collected by using a questionnaire and was analyzed by using percentage, mean, standard deviation, t-Test, analysis of variance and Pearson's product moment correlation coefficient. The results showed that: (1) the level of 5 working behavior factors of local government officials at 4 districts in Songkhla province were high with the mean score for 3.62 whereas the 6 quality of work life factors were high with the mean score for 4.06; (2) local government officials at 4 districts in Songkhla province with different personal factors had no difference in quality of work life at 0.05 statistical significance; and (3) the working behavior in terms of working satisfaction related to quality of work life of local government officials at 4 districts in Songkhla province positively at 0.05 statistical significanceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_153546.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons