Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9759
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติth_TH
dc.contributor.authorนภัสวรรณ อุทัยธีรนันท์, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-27T02:24:44Z-
dc.date.available2023-09-27T02:24:44Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9759en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความก้าวหน้าในอาชีพ (2) ปัญหา และอุปสรรคของการวางแผนความก้าวหน้าในอาชีพ และ (3) ข้อเสนอแนะการวางแผนความก้าวหน้าในอาชีพของนักวิจัยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักวิจัย Band 2 ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย จำนวนทั้งสิ้น 369 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่างคำนวณโดยใช้สูตรของ ทาโรยามาเน่ ได้ 185 ตัวอย่าง ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าเอฟ การทสอบความแปปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ผลการศึกษาพบว่า (1)ปัจจัยความก้าวหน้าในอาชีพของนักวิจัยโดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการบริหารผลการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ด้านการพัฒนารายบุคคล ด้านการพัฒนาอาชีพ และด้านการพัฒนาองค์การ ตามลำดับ (2) ปัญหาและอุปสรรคของการวางแผนอาชีพของนักวิจัยฯ พบว่า หลักเกณฑ์การเสื่อนระดับเข้มงวดเกินไป ตำแหน่งที่สูงขึ้นไม่ได้มีแรงจูงใจในแง่ของค่าตอบแทน องค์การไม่มีช่องทางให้คำปรึกษาอย่างเป็นทางการ และปัจจุบันยังไม่สนับสนุนการวางแผ่นของนักวิจัย และ (3) ข้อเสนอแนะ คือ การเสื่อนระดับควรมีการประกาศให้ชัดเจน การเชื่อมโยงตำแหน่งที่สูงขึ้นกับคำตอบแทนที่มากขึ้นเพื่อจูงใจในการกระตือรือร้นอยากสอบเลื่อนระดับ เปิดโอกาสให้นักวิจัยมีส่วนร่วมในการกำหนดหลักเกณฑ์ ส่งเสริมให้นักวิจัยได้ฝึกอบรมและพัฒนาเทียบเท่ากับองค์กรอื่นๆ ที่คล้ายกัน รูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติการต้องมีความเหมาะสมกับความก้าวหน้าในงานของนักวิจัย ควรจัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับความก้าวหน้าทางอาชีพให้แก่นักวิจัย เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักวิจัยได้มีโอกาสก้าวหน้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น และควรให้ความยุติธรรมและเสมอภาคในการปฏิบัติงานกับองค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยth_TH
dc.subjectการพัฒนาอาชีพth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectนักวิจัยth_TH
dc.titleการวางแผนความก้าวหน้าในอาชีพของนักวิจัยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeCareer path planning of researchers in Thailand Institute of Scientific and Technological Researchen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study: (1) the career growth; (2) the problems and the obstacles; and (3) the suggestion for career development of researcher & in Thailand Institute of Science and Technology Research. The population of this study was 369 researchers in Band 2 of Thailand Institute of Scientific and Technological Research. The sample age (185 samples) was calculated by Taro Yamane formula. Simple random sampling was used to select sample group while questionnaire and interview were employed to collect the primary data. Statistics used to analysis were percentage, mean, standard deviation, f-test, one-way ANOVA, and multiple comparisons test. The results revealed that: (1) Overview the level of career growth factors were high. By Considered in each aspect, the results reported that the highest level was performance management. The next was personal development followed career development and organization development respectively. (2) For problems and obstacles of career planning of researchers, it found that the criteria for promotion was too strict. The promotion to higher position did not motivate researchers in terms of compensation. There was noformal counseling in organization. Currently, there was no supporting project for career planning of researcher. (3) The suggestions for career planning of researchers were as follows. Clear announcement for promotion should be done. Higher positions should be paralleled with higher benefit. This is because it can encourage researchers to promote themselves. Organization should give researchers a chance in setting rule and support them with training course. The type of evaluation was suitable for researchers’ career growth. Career growth counseling center should be established for preparing the advancement opportunity of researchers. In addition, fairness and equality in working should be created in organization.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_154987.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons