Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/975
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorฐปนรรต พรหมอินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชนิสรา รามัญอุดม, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T08:55:20Z-
dc.date.available2022-08-23T08:55:20Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/975-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาทด้านนิติบัญญัติของสมาชิกสภาเทศบาลตำบลที่เป็นสตรีของสภาเทศบาลตำบลในจังหวัดนครปฐม (2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคด้านนิติบัญญัติของสมาชิกสภาเทศบาลตำบลที่เป็นสตรีของสภาเทศบาลตำบลในจังหวัดนครปฐมและ (3) เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาในการมีบทบาทด้นิติบัญญัติของสมาชิกสภาเทศบาลตำบลที่เป็นสตรีในการทำหน้าที่ของสภาเทศบาลตำบลในจังหวัดนครปฐม การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและข้อมูลจาก เอกสารรายงานการประชุม กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจงได้แก่สมาชิกสภาเทศบาลตำบลที่เป็นสตรีในจังหวัดนครปฐม จำนวน 15 คน เครื่องมึอที่ใช้คึอแบบสัมภาษณ์แบบเชิงลึกและการสังเกตของผู้วิจัย การวิเคราะค์ข้อมูลการสัมภาษณ์การวิเคราะห์ข้อมูลแบบการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า (1) สมาชิกสภาเทศบาลตำบลที่เป็นสตรีในจังหวัดนครปฐมทั้งหมดมี ความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับกระบวนการทางนิตินัญญัติดี รู้และเข้าใจกระบวนการตราเทศบัญญัติของเทศบาล โดยมีบทบาทดังนี้ 1.1) การพิจารณาร่างเทศบัญญัติที่เทศบาลมีอำนาจหน้าที่ตามที่กฎหมายบัญญัติ 1.2) สมาชิกสภาเทศบาลตำบลที่เป็นสตรีในจังหวัดนครปฐมทั้งหมดมีบทบาทในการตรวจสอบและควบคุมฝ่ายบริหารในลักษณะการตั้งกระทู้ (2) สมาชิกสภาเทศบาลตำบลที่เป็นสตรีในจังหวัดนครปฐมทั้งหมดไม่เคยมีการเสนอร่างเทศบัญญัติโดยฝ่ายนิติบัญญัติและไม่เคยมีบทบาทสนับสนุนให้ประชาชนร่วมกันเข้าชื่อเสนอร่างเทศบัญญํติ (3) ส่งเสริมให้สตรีใน เขตเทศบาลมีส่วนร่วมและบทบาททางการเมีองมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.81en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสมาชิกสภาเทศบาลth_TH
dc.subjectสตรี -- กิจกรรมทางการเมืองth_TH
dc.titleบทบาทด้านนิติบัญญัติของสมาชิกสภาเทศบาลตำบลที่เป็นสตรี : กรณีศึกษาสภาเทศบาลตำบลในจังหวัดนครปฐมth_TH
dc.title.alternativeThe legislative roles of women members of the sub-district municipal in Nakhon Pathom Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.81en_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the legislative role of women sub-district municipal council members in Nakhon Pathom Province; (2) to study obstacles to and problems with that role; and (3) to form recommendations on how to overcome those problems. This was a qualitative research based on data from sub-district municipal council meeting minutes and in-depth interviews with 15 key informants, chosen through purposive sampling, who were women sub-district municipal council members in Nakhon Pathom Province. Data were collected using an in-depth interview form and through observation. Data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that (1) All the women sub-district municipal council members had knowledge about and experience with the legislative process. They understood that the municipality could make municipal laws and the roles are 1.1) considering draft laws on topics that fell within the legal powers of the municipality 1.2) all the women sub-district municipal council members interviewed played in examining and controlling the work of the administrative branch by asking questions. (2) None of the female municipal council members interviewed had ever submitted a draft law themselves or taken a role in encouraging members of the public to submit a draft law. (3) They recommended that women in the municipal area should be encouraged to participate more and play a role in politicsen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib135408.pdfเอกสารฉบับเต็ม63.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons