Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9760
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิตญา เพื่อนใจมี, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-27T02:34:42Z-
dc.date.available2023-09-27T02:34:42Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9760en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงาน (2) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การ (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การและ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ ของข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจำในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือประชากรเป็นข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจำในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชำนวน 301 คน สุ่มตัวอย่างใดชวิธีการสุ่มตัวอย่างของยามาเน่ โดยยอมให้เกิดความคลาดเคลื่อน ได้ร้อยละ 5 ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 172 คน และ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกระจายสุ่มไดขวิธีชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัชคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สทสัมพันธ์แบบเพียร์สันผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้ราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจำจังหวัดในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ในระดับปานกลาง (2) ระดับความผูกพันต่อองค์การข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปร ามการทุจริตแห่งชาติประจำจังหวัดในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ในระดับสูง (3) ข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจำจังหวัดในเขตพื้นที่ภาดตะวันออกเฉียงเหนือที่มีปัจจัยส่วนบุคคลในเรื่องระยะเวลาการทำงานในองค์การ และตำแหน่งงานในปังจุบัน มีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4)คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามกรทุจริตแห่งชาติในเขดพื้นที่ภากตะวันออกเฉียงเหนือ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่อองค์การ อยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงาน--ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)th_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ--ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจำจังหวัดในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือth_TH
dc.title.alternativeQuality of working life and organizational commitment of officials of National Anti-Corruption Commission Provincial Office in the Northeastern Regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to study (1) the level of working life quality, (2) the level on the organizational commitment, (3) to compare the differences of personal factors and organization commitment and (4) to examine the relationship between quality of working life and organizational commitment of Officials of National Anti-Corruption Commission Provincial Office in the Northeastern Region. The population was 301 of Officials of National Anti-Corruption Commission Provincial in the Northeastern Region. Sampled by the sampling method of Taro Yamane. By allowing 5 percent discrepancy, 172 samples were obtained by using landscape layer and random sampling was used. By the way the landscape layer. The research instrument was 5 point rating scale questionnaire with the reliability of 𝛼𝛼 = 0.93 Statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient. The results of the study revealed as following: (1) The Officials of National Anti Corruption Commission Provincial Office in the Northeastern Region had working life quality at moderate level. (2) The officials of National Anti-Corruption Commission Provincial Office in the Northeastern Region had organization commitment at high level. (3) The employees of officials of National Anti-Corruption Commission Provincial in the Northeastern Region that have the personal factors of period of working and current job position had different commitment to organization with statistical significant at 0.05. (4) It was found that quality of working life of Officials of National Anti-Corruption Commission Provincial in the Northeastern Region had a moderately positive relationship on organizational commitment in aspect at statistical significant of 0.01en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_154753.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons