กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9760
ชื่อเรื่อง: คุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจำจังหวัดในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Quality of working life and organizational commitment of officials of National Anti-Corruption Commission Provincial Office in the Northeastern Region
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: กิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษา
นิตญา เพื่อนใจมี, 2527-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
คุณภาพชีวิตการทำงาน--ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
ความผูกพันต่อองค์การ--ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
วันที่เผยแพร่: 2559
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงาน (2) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การ (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การและ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ ของข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจำในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือประชากรเป็นข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจำในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชำนวน 301 คน สุ่มตัวอย่างใดชวิธีการสุ่มตัวอย่างของยามาเน่ โดยยอมให้เกิดความคลาดเคลื่อน ได้ร้อยละ 5 ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 172 คน และ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกระจายสุ่มไดขวิธีชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัชคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สทสัมพันธ์แบบเพียร์สันผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้ราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจำจังหวัดในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ในระดับปานกลาง (2) ระดับความผูกพันต่อองค์การข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปร ามการทุจริตแห่งชาติประจำจังหวัดในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ในระดับสูง (3) ข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประจำจังหวัดในเขตพื้นที่ภาดตะวันออกเฉียงเหนือที่มีปัจจัยส่วนบุคคลในเรื่องระยะเวลาการทำงานในองค์การ และตำแหน่งงานในปังจุบัน มีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4)คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามกรทุจริตแห่งชาติในเขดพื้นที่ภากตะวันออกเฉียงเหนือ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่อองค์การ อยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9760
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext_154753.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.57 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons