Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9764
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์th_TH
dc.contributor.authorนิวัฒน์ ครุวรรณ, 2533-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-27T03:28:21Z-
dc.date.available2023-09-27T03:28:21Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9764en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นของพนักงานต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของ ฝ่ายช่าง บริษัท การบินไทย จำกัด(มหาชน) (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของพนักงานต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายช่าง บริษัท การบินไทย จำกัด(มหาชน) จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคลการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ พนักงานซ่อมบำรุงอากาศยาน ณ ลานจอด ฝ่ายช่าง บริษัท การบินไทย จำกัด(มหาชน) จำนวน 660 คน กำหนด ขนาดกลุ่มตัวอย่างได้จำนวนทั้งสิ้น 249 คน ตามสูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม โดยมีค่าความเชื่อมั่น 0.918 สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญทางสถิติผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นของพนักงานต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายช่าง บริษัท การบินไทย จำกัด(มหาชน) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านอยู่ในระดับมาก 3 ด้าน โดยเรียงลำดับดังนี้ ด้านรูปแบบทางความคิด ด้านการคิดอย่างเป็นระบบ และด้านความรอบรู้ของบุคคล ส่วนด้านการเรียนรู้ของทีม และด้านการแบ่งปันวิสัยทัศน์อยู่ในระดับปานกลาง (2) พนักงานฝ่ายช่าง บริษัท การบินไทย จำกัด(มหาชน) ที่มีสถานภาพ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน ระดับรายได้ และตำแหน่งที่แตกต่างกัน มีความเห็นต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัทการบินไทย ฝ่ายช่าง--พนักงาน--ทัศนคติth_TH
dc.subjectการเรียนรู้องค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความคิดเห็นของพนักงานต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายช่างบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeEmployee's opinion towards the learning organization of Technical Department of Thai Airways International Public Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are: (1) to study employee’s opinion towards the learning organization of Technical Department of Thai Airways International Public Company Limited; and (2) to compare employee’s opinion towards the learning organization of Technical Department of Thai Airways International Public Company Limited by personal factors. This study was a survey research. The population consisted of 660 employees of Line Maintenance of Technical Department of Thai Airways International Public Company Limited. The sample size was 249 employees calculated by Yamane’s formula and was selected by random sampling method. A questionnaire was used for data collection with 0.918 reliability value. The data was analyzed by using percentage, mean, standard deviation, one way ANOVA and least significant difference. The findings reveal that: (1) overall employee’s opinion towards the learning organization of Technical Department of Thai Airways International Public Company Limited at high level. The mental model,systematic thinking and personal mastery are at high level respectively while team learning and shared vision are at moderate level. (2) Employees with different status, age, educational level, working experience, income and position have different opinion about learning organization at 0.05 statistical significanc.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_153247.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons