Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9768
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประทีป ศารารัมย์, 2516-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-27T03:52:53Z-
dc.date.available2023-09-27T03:52:53Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9768en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการทำงานของพนักงาน บริษัท โชคชัย สตาร์ช จำกัด (2) ศึกษาปัจจัยการจัดการองค์การที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการทำงานของพนักงาน บริษัท โชคชัย สตาร์ช จำกัด และ(3) เปรียบเทียบความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานบริษัท โชชัย สตาร์ช จำกัด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลการศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรคือพนักงานในโรงงานของบริษัท โชคชัยสตาร์ช จำกัด จำนวน 154 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ด้วยการคำนวณได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 112 คน ซึ่งสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งนั้นตามระดับของพนักงาน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง โดยลำดับแรก คือด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา รองลงมาคือ ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ และลำดับสุดท้ายคือด้านเงินเดือน (2) ปัจจัยการจัดการองค์การ ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานได้แก่ ด้านการนำ ด้านการจัดองค์การและด้านการควบคุม โดยร่วมกันทำนายความพึงพอใจในการทำงานของพนักงาน ได้ร้อยละ 56 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ(3) พนักงานที่มีเพศ อายุ สถานภาพ ตำแหน่งงาน รายได้ประจำต่อเดือน และประสบการณ์การทำงานแตกต่างกันมีความพึงพอใจในการทำงานไม่แตกต่างกัน ส่วนพนักงานที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีความพึงพอใจในการทำงานแตกต่างกันในค้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectพนักงาน--การทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานบริษัทโชคชัย สตาร์ช จำกัดth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting employees' satisfaction at Chokchai Starch Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed : (1) to study the level of employees’ satisfaction at Chokchai Starch Company Limited; (2) to study the organizational management factors affecting employees satisfaction at Chokchai Starch Company Limited; and (3) to compare employees’ satisfaction at Chokchai Starch Company Limited by personal factors. This study was quantitative research. The population was 154 employees of Chokchai Starch Company Limited and 112 of them were randomized by stratified random sampling. A questionnaire was used as the study tool. Data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance, least significant difference and multiple regression analysis. The results showed that : (1) The level of job satisfaction of the employees was at a moderate level. When considering each aspect. It was found that all aspects were moderate. The first order is relationships with bosses. The second is the nature of the work and the last is salary; (2) Organizational factors affecting employee satisfaction are organizational, organizational and control. By predicting the effect on employee satisfaction 56%, there was a statistically significant relationship at 0.05 level and (3) Employees with gender, age, status, employment, monthly income and experience there were no differences in job satisfaction. Employees with different educational levels have different job satisfaction in terms of job characteristicsen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_154978.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons