Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9773
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษาen_US
dc.contributor.authorพงศธร ฐานิตสรณ์, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-28T01:43:26Z-
dc.date.available2023-09-28T01:43:26Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9773-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินเวลามาตรฐานที่เหมาะสมของโครงการบำรุงรักษาเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าแบบกังหันก๊าซ Siemens รุ่น SGTS-4000F ที่ข้อมูลของเวลาแล้วเสร็จในแต่ละกิจกรรมย่อยภายใน โครงการมีจำนวนน้อยด้วยเทคนิคเพิร์ท และเทคนิควิธีสายงานวิกฤตวิธี การศึกษาประกอบด้วย ขั้นที่หนึ่ง ศึกษาแต่ละขั้นตอนการทำงานของงานบำรุงรักษาที่ ได้ดำเนินการมาแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 - 2559 เพื่อทำการแบ่งแยก และจัดกลุ่มกิจกรรม ให้เป็นกลุ่มกิจกรรมที่อิสระต่อกัน ขั้นที่สอง ทำการคำนวณหาเวลาแล้วเสร็จของแต่ละกิจกรรมอิสระ ด้วยเทคนิคเพิร์ท ตามสมมุดิฐานการกระจายช้อมูลแบบบีต้า พร้อมทั้งตรวจสอบความเที่ยงตรงของข้อมูล ด้วยการทดสอบสมมุติฐานตามวิธีการแอนเดอร์สัน-ดาร์ลื่น ภายใต้สมมุติฐานการกระจายข้อมูลแบบปกติ ขั้นที่สาม วิเคราะห์หาผังบ่ายงาน และสายงานวิกฤติ แล้วคำนวณหาเวลาแล้วเสร็จของทั้งโครงการ ด้วยเทคนิควิธีสายงานวิกฤตผลการศึกษาพบว่า ระยะเวลาที่เหมาะสมของโครงการบำรุงรักษาเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าแบบกังหันก๊ซ Siemens รุ่น SGT5-4000F คือ 850.6 ชั่วโมง หรือ 35.5 วัน ภายหลังการปรับปรุงเวลาแล้วเสร็จของโครงการใหม่ ทำให้ระยะเวลาสูงสุดของโครงลดลง 9.5 วัน ซึ่งสามารถลดค่ำเสียโอกาสสูงสุดจากหยุดดินเครื่องเพื่อผลิตและขายกระแสไฟฟ้า คิดเป็นมูลค่ 28.5ล้านบาท ต่อปีต่อโครงการ บอกจากนี้ ข้อมูลกี่ยวกับสายงานวิกฤติ และระยะเวลาแล้วเสร็จของแต่ละกิจกรรม ยังเป็นประ โยชน์ต่อการติดตามความก้าวหน้าของแต่ละกิจกรรม และภาพรวมของทั้งโครงการ เพื่อให้แล้วเสร็จตามแผนที่ได้วางไว้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงไฟฟ้าจะนะ (สงขลา)--การบริหารth_TH
dc.subjectเครื่องยนต์กังหันแก๊ส--การบำรุงรักษาและการซ่อมแซมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการประเมินเวลาที่เหมาะสมด้วยเทคนิคเพิร์ท/วิธีสายงานวิกฤตในการบริหารโครงการบำรุงรักษาเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าแบบกังหันก๊าซ รุ่น SGT5-4000F กรณีศึกษาโรงไฟฟ้าจะนะ จังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeAnalysis of estimated time by PERT and CPM Techniques for Maintenance Program of Siemens Gas Turbine Model SGT5 4000F in Chana Power Plant at Songkhla Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study attempts to apply the PERT - Program Evaluation and Review Technique, CPM - Critical Path Management Technique and relevant project management to suggest the recommendation for new standard time durations, and the guidance for appropriate project scheduling. This study starts from work-breakdown the work instruction as specified in the standard manual of maintenance program. Then, all detailed activities are classified and sequenced into independent activities. While, for data collection, the actual durations are from Major Overhaul projects as recorded in the official Maintenance Report between 2010 and 2016. The data, under the assumption of beta distribution by using PERT, are validated with normal distribution by Anderson Darling Normality Test. Finally, the collective date are analyzed by CPM to reveal the Network, Critical Path, and calculated durations of each activity and overall project. The research recommended the duration of overall project at 850.6 hours or 35.5 days. This could reduce the maximum duration by 9.5 days from 45 days, or at 28.5 million Thai Baht per year per project for opportunity cost to stop the electricity generation for maintenance. These findings could provide beneficial guidance for monitoring the progressive of each activity and overall project to achieve the target as planneden_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_155982.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons