กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9773
ชื่อเรื่อง: การประเมินเวลาที่เหมาะสมด้วยเทคนิคเพิร์ท/วิธีสายงานวิกฤตในการบริหารโครงการบำรุงรักษาเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าแบบกังหันก๊าซ รุ่น SGT5-4000F กรณีศึกษาโรงไฟฟ้าจะนะ จังหวัดสงขลา
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Analysis of estimated time by PERT and CPM Techniques for Maintenance Program of Siemens Gas Turbine Model SGT5 4000F in Chana Power Plant at Songkhla Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: จีราภรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษา
พงศธร ฐานิตสรณ์, 2529-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
โรงไฟฟ้าจะนะ (สงขลา)--การบริหาร
เครื่องยนต์กังหันแก๊ส--การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
วันที่เผยแพร่: 2559
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินเวลามาตรฐานที่เหมาะสมของโครงการบำรุงรักษาเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าแบบกังหันก๊าซ Siemens รุ่น SGTS-4000F ที่ข้อมูลของเวลาแล้วเสร็จในแต่ละกิจกรรมย่อยภายใน โครงการมีจำนวนน้อยด้วยเทคนิคเพิร์ท และเทคนิควิธีสายงานวิกฤตวิธี การศึกษาประกอบด้วย ขั้นที่หนึ่ง ศึกษาแต่ละขั้นตอนการทำงานของงานบำรุงรักษาที่ ได้ดำเนินการมาแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 - 2559 เพื่อทำการแบ่งแยก และจัดกลุ่มกิจกรรม ให้เป็นกลุ่มกิจกรรมที่อิสระต่อกัน ขั้นที่สอง ทำการคำนวณหาเวลาแล้วเสร็จของแต่ละกิจกรรมอิสระ ด้วยเทคนิคเพิร์ท ตามสมมุดิฐานการกระจายช้อมูลแบบบีต้า พร้อมทั้งตรวจสอบความเที่ยงตรงของข้อมูล ด้วยการทดสอบสมมุติฐานตามวิธีการแอนเดอร์สัน-ดาร์ลื่น ภายใต้สมมุติฐานการกระจายข้อมูลแบบปกติ ขั้นที่สาม วิเคราะห์หาผังบ่ายงาน และสายงานวิกฤติ แล้วคำนวณหาเวลาแล้วเสร็จของทั้งโครงการ ด้วยเทคนิควิธีสายงานวิกฤตผลการศึกษาพบว่า ระยะเวลาที่เหมาะสมของโครงการบำรุงรักษาเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าแบบกังหันก๊ซ Siemens รุ่น SGT5-4000F คือ 850.6 ชั่วโมง หรือ 35.5 วัน ภายหลังการปรับปรุงเวลาแล้วเสร็จของโครงการใหม่ ทำให้ระยะเวลาสูงสุดของโครงลดลง 9.5 วัน ซึ่งสามารถลดค่ำเสียโอกาสสูงสุดจากหยุดดินเครื่องเพื่อผลิตและขายกระแสไฟฟ้า คิดเป็นมูลค่ 28.5ล้านบาท ต่อปีต่อโครงการ บอกจากนี้ ข้อมูลกี่ยวกับสายงานวิกฤติ และระยะเวลาแล้วเสร็จของแต่ละกิจกรรม ยังเป็นประ โยชน์ต่อการติดตามความก้าวหน้าของแต่ละกิจกรรม และภาพรวมของทั้งโครงการ เพื่อให้แล้วเสร็จตามแผนที่ได้วางไว้
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9773
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext_155982.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.16 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons