Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9775
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพรรัตน์ ทองมี, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-28T01:59:02Z-
dc.date.available2023-09-28T01:59:02Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9775en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของโรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์ (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรโรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์ จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล และ (3) เสนอแนะแนวทางการสร้างเสริมความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร โรงเรียนเทศบาลวัคมเหยงคณ์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาถือ บุคลากรของโรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์ จำนวน 300 คน กลุ่มตัวอย่างได้จำนวนทั้งสิ้น 171 คน ตามสูตรทาโรยามาเน่ โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญทางสถิติผลการศึกษาพบว่า (1) ความผูกพันต่อองค์การของโรงเรียนเทศบาลวัคมเหยงคณ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการยอมรับนโยบาย เป้าหมายขององค์กร อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านความภาคภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งขององค์การ (2) ผลการเปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของโรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์พบว่า บุคลากรของโรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์ ที่มี เพศ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นระดับรายได้ มีระดับความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) แนวทางด้านสร้างเสริมความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร โรงเรียนเทสบาลวัดมเหยงคณ์ แต่ละด้านพบว่า ด้านการยอมรับเป้าหมายขององค์กร ควรเพิ่มสวัสดิภาพและค่ตอบแทนให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน ด้านการมีส่วนร่วม ควรสนับสนุนให้มีเวทีระคมความคิดเพื่อการพัฒนางานด้านความภาคภูมิใจ ควรส่งเสริมวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีมและบริการ ที่เป็นเลิศ ผู้บริหารระดับสูงควรประเมินการปฏิบัติงานตามผลงานอย่างเป็นรูปธรรมทั้งองค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรโรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์th_TH
dc.title.alternativeOrganizational commitment of employees at Maheyong Schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to: (1) study the level of organizational commitment of employees at Maheyong School; (2) compare organizational commitment of employees at Maheyong School, divided by personal characteristic; and (3) suggest guidelines to enhance organizational commitment of employees at Maheyong School. The population of this survey research consisted of 300 employees of Maheyong School. The sample was 171 employees, calculated by using Taro Yamane formula, with stratified random sampling method. The instrument used to collect data was a constructed questionnaire. The statistics used for data analysis were percentage, median, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance, and paired difference test by comparing statistical significance level. The study results revealed that: (1) the level of organizational commitment of employees at Maheyong School was overall at the highest level. As for each individual aspect, it was found that the highest level was accepted policy and purpose of organization, while participation and pride to be a part of organization was at a high level; (2) employees at Maheyoung School with different genders, ages, marital status, education levels, job positions, and durations of work had no different organizational commitment, except those with different levels of income had different of organizational commitment with a statistical significance at 0.05 level; and (3) as for the guidelines to reinforce the organizational commitment of employees at Maheyong School, on the aspect of acceptance of organizational purpose, proper welfare and compensation should be increased according to the current economic situation; on the aspect of participation, employees should be supported to have a chance to have brainstorming platform in order to develop the work; and on the aspect of pride, employees should be supported to have teamwork-organizational culture and excellent service, and the top manager should evaluated the employees’ work concretely based on the success throughout the organizationen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_153252.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons