Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9780
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดลพร บุญพารอดth_TH
dc.contributor.authorมัลลิกา เสมรอด, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-28T02:25:49Z-
dc.date.available2023-09-28T02:25:49Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9780en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจยื่นแบบแสดงรายการภาษีงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ต ในห้องที่อำเภอเมือง จังหวัดระยอง (2) ระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการยื่นแบบแสดงรายการภาษีและการใช้งานในระบบยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคกลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ต ของผู้เสียภาษีในท้องที่อำเกอเมือง จังหวัดระยอง การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้เสียภาษี ที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ต ในท้องที่อำเภอเมือง จังหวัดระยอง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2539 ถึงวันที่ 8 เมษายน 2559 จำนวน 58,450 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 397 คน เก็บราบรามช้อมูลด้วยการใช้แบบสอบถามการสุ่มตัวอย่างใช้วิธีสุ่มโดยบังเอิญ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย อัตราร้อยละ ความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบจำแนกทางเดียว และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ต ในท้องที่อำเภอเมือง จังหวัดระของ คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อปี ปัจจัยความรู้ความข้าใจเกี่ยวกับการยื่นแบบแสดงรายการภาษีงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ต ด้านประเภทของเงินได้พึงประเมิน และปัจจัยความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้งานในระบบยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ต ด้านการชำระภาษี (2) ผู้เสียภาษีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการยื่นแบบแสดงรายการภาษีและการใช้งานในระบบยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ดโดยรวมในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการชำระบัญชีth_TH
dc.subjectภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ตในท้องที่อำเภอเมือง จังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeAffected factor of personal income tax filing via internet submitting decision in Muang District, Rayong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of This study were to study (1) Affected factor of personal income tax filing via internet submitting decision in Muang district, Rayong Province and (2) the level of knowledge in submission tax filing and using e-revenue system of taxpayers in Muang district, Rayong Province. The study was a survey research. The population in This study were 58,450 taxpayers who submit personal income tax by using internet in Muang district, Rayong Province during The period from 1st January 2016 to 8th April 2016. The Taro Yamane method was employed to calculate the sample size ( 397 taxpayers) while accidental sampling was used to select the sample group. Questionnaire was also used to collect the primary data. Statistics employed to analyses the data were mean, percentage, frequency, standard deviation, t-test, One Way ANOVA and Multiple Regression. The results reported that (1 ) factor influencing the decision making in submission personal income tax by using internet of taxpayers are personal factor ( age, education, occupation, and income per year) and knowledge of taxpayers in submission tax filing and using e-revenue system especially in the part of assessable income and tax payment. (2) The knowledge in submission tax filing and using e-revenue system of taxpayers are the highest level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_152448.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons