Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9784
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขุมาลย์ ชำนิจth_TH
dc.contributor.authorมาโนชญ์ ท้วมแก้ว, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-28T02:41:16Z-
dc.date.available2023-09-28T02:41:16Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9784en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 3 ภาคใต้ (ยะลา) (2) เปรียบเทียบความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของการ ไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 3 ภาคใต้ (ยะลา) จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลการศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคของการไฟฟ้าส่วนภูมิภากเขต 3 ภาคใต้ (ยะลา) จำนวน 1,476 กน กลุ่มตัวอย่างได้จากการคำนวณ โดยใช้สูตรทาโร่ ยามาเน่ จำนวน 315 คน วิเคราะ ห์ ข้อมูล โดยการหาค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ผลการศึกษาพบว่า (1) พนักงานมีระดับความคิดเห็นต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า รูปแบบการคิดอยู่ในระดับมาก รองลงมาการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมอยู่ในระดับมาก ความรอบรู้แห่งตนและการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมอยู่ในระดับมาก การคิดเชิงระบบอยู่ในระดับมาก และ (2) พนักงานที่มีเพศ แดกต่างกันมีระดับความคิดเห็นต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ไม่แตกต่างกัน ยกเว้น พนักงานที่มีสถานภาพสมรสอายุ วุฒิการศึกษา ตำแหน่ง รายได้ต่อเดือน ประสบการณ์ในการทำงาน หน่วยงานต้นสังกัดแตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ด้านความรอบรู้แห่งตนด้านรูปแบบการคิด ด้านการคิดเชิงระบบ ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ร่วม ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค--ไทย (ภาคใต้)th_TH
dc.subjectการพัฒนาองค์การth_TH
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 3 ภาคใต้ (ยะลา)th_TH
dc.title.alternativeLearning organization development of Yala Provincial Electricity Authorityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposed of this study were to study (1) the employees ’opinions level of Yala Provincial Electricity Authority towards the learning organization; (2) the comparison of employees’ opinions level towards the learning organization classified by the personal factors. This study was a survey research. Population was 1,476 employees of Yala Provincial Electricity Authority. The sample was 315 employees determined by a formula of Taro Yamane. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-Test, ANOVA and correlation analysis. The results showed that (1) the overall of employees’ opinions towards the learning organization was at high level, considering in each part, it was found that the cognitive styles was at high level followed by participated vision creation, self knowledge, team learning and thinking systems were at high level (2) the employees who had the different sex, had the same opinions towards the learning organization whereas the employees who had the different of gender, age, monthly income, education level had the quality of work life, had dissimilar opinions towards the learning organization in the part of self-knowledge, cognitive styles, participated vision creation and team learning with the statistically significant at 0.05 level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_154984.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons