Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9795
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพรชุลีย์ นิลวิเศษ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดุสิต เวชกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนพวรรณ เสวตานนท์, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-28T07:54:09Z-
dc.date.available2023-09-28T07:54:09Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9795-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพเศรษฐกิจและสังคมของประชาชนในพื้นที่สุ่มนี้าคลองอู่ ตะเภา จังหวัดสงขลา 2) การมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ของประชาชน 3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมี ส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ และ 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมทุกขั้นตอนอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.01 คือ การเข้าร่วมกลุ่มทำกิจกรรมเพื่อท้าประโยชน์ส่วนรวมในการพัฒนาท้องถิ่น การได้รับการฝึกอบรม และ ผลประโยชน์ของทรัพยากรป่าไม้ต่อครอบครัว และระดับ 0.05 คือ อาชีพ และการได้รับความรู้ด้านการอบุรักน์ ทรัพยากรป่าไม้ สำหรับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในขั้นตอนต่าง ๆ พบว่า 1) ขั้นตอนการ ตัดสินใจ ปัจจัยที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.01 คือ การเข้าร่วมกลุ่มทำกิจกรรมเพื่อทำประโยชน์ ส่วนรวมในการพัฒนาท้องถิ่น และการได้รับการฝึกอบรมความรู้ด้านป่าไท้ ที่ระดับ 0.05 คือ จำนวนสมาชิกใน ครัวเรือน การได้รับความรู้ด้านการอนุรักน์ ประโยชน์ของทรัพยากรป่าไม้ต่อครอบครัว 2) ขั้นตอนการเข้าร่วม กิจกรรม ปัจจัยที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.01 คือ การเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อทำประโยชน์ส่วนรวม ในการพัฒนาท้องถิ่น และการได้รับการฝึกอบรม และที่ระดับ 0.05 คือ อาชีพ และประโยชน์ของทรัพยากรป่าไม้ต่อ ครอบครัว 3) ขั้นตอนการร่วมรับผลประโยชน์ ปัจจัยที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.01 คือ จำนวน ประโยชน์ที่ได้รับจากทรัพยากรป่าไม้ และประโยชน์ของทรัพยากรป่าไม้ต่อครอบครัว ที่ระดับ 0.05 คือ การเข้าร่วม กลุ่มทำกิจกรรมเพื่อทำประโยชน์ส่วนรวมในการพัฒนาท้องถิ่น และขนาดพื้นที่ถือครอง 4) ขั้นตอนการควบคุม ติดตามประเมินผล ปัจจัยที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.01 คือ การเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อประโยชน์ ส่วนรวมในการพัฒนาท้องถิ่น และจำนวนประโยชน์ที่ได้รับจากทรัพยากรป่าไม้ในปัจจุบัน ที่ระดับ 0.05 คือ ประโยชน์ของทรัพยากรป่าไม้ต่อครอบครัวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.260-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประชาชน--ไทย--สงขลาth_TH
dc.subjectการจัดการทรัพยากรป่าไม้--ไทย--สงขลา--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ลุ่มน้ำคลองอู่ตะเภา จังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to public participation in forest resource management of U Tapao Canal Basin in Songkhla provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.260-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83604.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons