Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/980
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปธาน สุวรรณมงคล | th_TH |
dc.contributor.author | ชมพิชา ชาญกล, 2512- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-25T03:09:16Z | - |
dc.date.available | 2022-08-25T03:09:16Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/980 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาทของนายอำเภอที่ปฎิบัติงานในพื่นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (2) ศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัดต่อการดำเนินงานตามบทบาทของนายอำเภอในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (3) เสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทบาทของนายอำเภอในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื่นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ การวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีวิจัยเซิงคุณภาพโดยศึกษาจากเอกสารและการสัมภาษณ์ ใช้วิธีการเลึอกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง คือ นายอำเภอที่ปฏิบัติหน้าที่ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้คือจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส จำนวน 33 คน ผู้ที่ปฎิบัติงานเกี่ยวข้องกับนายอำเภอ จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์ และศึกษาจากเอกสารปฐมภูมิและทุติยภูมิ โดยนำ ข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาทำการวิเคราะห์เซิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาทของนายอำเภอในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มุ่งเน้นในด้านการรักษความสงบ เรียบร้อย การอำนวยความเป็นธรรม และงานมวลชนสัมพันธ์ (2) ปัญหาอุปสรรค ข้อจำกัดในการปฏิบัติงานของนายอำเภอในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ ปัญหาการบริหารจัดการบุคลากรสนับสนุนการปฎิบัติงานระดับอำเภอ ปัญหาการไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณด้านการพัฒนาเท่าที่ควร และขาดขวัญ กาลังใจ ในการปฏิบัติงาน (3) ข้อเสนอแนะที่สำคัญคือ รัฐควรสร้างกลไกที่อำนวยให้ยุทธศาสตร์การปฏิบัติงานของภาครัฐในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความเป็นเอกภาพ โดยมีนายอำเภอเป็นแกนหลักในการประสานงาน บูรณาการ การแก้ไขปัญหารวมกัน โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ทั้งนี้ต้องยึดมั่นหลักการแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธีและยึดหลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติราชการ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | นายอำเภอ -- ไทย (ภาคใต้) | th_TH |
dc.subject | ความมั่นคงชายแดน -- ไทย | th_TH |
dc.title | บทบาทของนายอำเภอในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ | th_TH |
dc.title.alternative | Roles of the chief district officers in solving the unrest in the three southern border provinces | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to (1) study roles of the chief district officers who have been working in the three southern border provinces (2) to study problems, obstacles to and limitation in performing their duties to tackle the unrest in these areas (3) to form recommendations about additional roles of chief district officers in solving problems of unrest in these three southern border provinces. This was a qualitative study based on interview forms and primary and secondary documents. The sample, chosen by purposive sampling, consisted of 33 chief district officers in three southern border provinces (Pattani, Yala, and Narathiwat Provinces) and 10 officials working with chief district officers. Data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that (1) roles of chief district officers in the three southern border provinces focused on maintaining peacefulness and justice, and promoting mass relations (2) Problems, obstacles to and limitation in performing their duties were administration of support personnel at a district level, lack of support in budget for development and lack of morale and encouragement at work. (3) The main recommendation was that the government should build up its Type here to search mechanism to create the unity in strategics for working in these southern border provinces, with chief district officers as key persons in coordinating and integrating to solve abovementioned problems together. These strategics should be worked out using people-centered approach and, thus, problem-solving with peace and good governance ought to undeniably go along with how to work in bureaucracy | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ธโสธร ตู้ทองคำ | th_TH |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib118313.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License