Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9813
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมจิต โยธะคง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดา พิศาลบุตร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมาโนช เทียนขาว, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-29T04:05:19Z-
dc.date.available2023-09-29T04:05:19Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9813-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสภาพสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรที่เข้าร่วม โครงการ (2) ศึกษาแหล่งข้อมูลและประเด็นสำคัญที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีด้านบัญชีฟาร์มของ เกษตรกร (3) ศึกษาระดับการยอมรับเทคโนโลยีด้านบัญชีฟาร์มของเกษตรกร (4) ศึกษาปัญหาและ ข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีด้านบัญชีฟาร์มของเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรส่วนมากเป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 55.51 ปี ส่วนมากสถานภาพ สมรส ระดับการศึกษาอยู่ระหว่างประถมศึกษาปีที่ 4-7 สมาขิกในครัวเรือนเฉลี่ย 2.27 คน พื้นที่ทางการเกษตร เฉลี่ย 15.18 ไร่ พื้นที่เข้าร่วมโครงการเฉลี่ย 2.47 ไร่ อาชีพหลัก คือ การเกษตร รายได้ในรอบปีเฉลี่ย 187,775 บาทรายจ่ายในรอบปีเฉลี่ย 156,493 บาท เกษตรกรทุกครัวเรือนกู้ยืมเงินกู้ในภาคการเกษตรเฉลี่ย 47,517.30 บาท กู้ใช้นอกภาคการเกษตรเฉลี่ย 22,117 บาท (2) แหล่งข้อมูลที่ได้รับและมีผลต่อการตัดสินใจมากที่สุด ได้แก่ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ประเด็นที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการมากที่สุด ได้แก่ งบประมาณที่ ได้รับการสนับสนุนและระยะเวลาในการพักร์าระหนี้ 3 ปี (3) ระดับการยอมร้บเทคโนโลยีด้านบัญชีฟาร์มมีระดับ การยอมรับในระดับมาก และเกษตรกรมีการปฏิป้ติบางส่วน (4) เกษตรกรมีปัญหาที่สำคัญ ได้แก่ รายละเอียด และขั้นตอนการบันทึกบัญชีฟาร์มมากเกินไป มีข้อเสนอแนะ คือ ให้ลดขั้นตอนสรุปเป็นแบบสั้นและง่ายต่อความเข้าใจ (5) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า อายุ สมาชิกในครัวเรือน รายได้ในการเกษตร ในภาพรวมมีระดับ ความสัมพันธ์ตํ่า สำหรับพื้นที่เข้าร่วมโครงการฯ มีความสัมพันธ์ระดับสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.174-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโครงการฟื้นฟูอาชีพเกษตรกรหลังการพักชำระหนี้th_TH
dc.subjectฟาร์ม--การบัญชี--เทคโนโยลีที่เหมาะสมth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--สิงห์บุรีth_TH
dc.titleการยอมรับเทคโนโลยีด้านบัญชีฟาร์มของเกษตรกรในโครงการฟื้นฟูอาชีพเกษตรกรหลังการพักชำระหนี้ของอำเภอบางระจันจังหวัดสิงห์บุรีth_TH
dc.title.alternativeAdoption of farm accounting technology by farmers under post-debt moratorium occupational revitalization project in Bang Rachan district, Sing Buri provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.174-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83618.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons