Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9814
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | บำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | จตุรงค์ ราชพิทักษ์, 2496- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-29T04:15:53Z | - |
dc.date.available | 2023-09-29T04:15:53Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9814 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพพื้นฐานทั่วไปบางประการของเจ้าหน้าที่ ในสังกัด สำนักงานเกษตรชังหวัดนครนายก (2) ศึกษากระบวนการสร้างและพัฒนาตัวชี้วัดที่มีความเหมาะสม สอดคล้อง กับงานและศักยภาพการดำเนินงานของชังหวัดนครนายก (3) ศึกษาความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ต่อตัวชี้วัดงานส่งเสริมการเกษตรของสำนักงานเกษตรจังหวัดนครนายก (4) ศึกษาความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรเกี่ยวการนำตัวชี้วัดไปใช้ประโยชน์ในการบริหาร การพัฒนาเจ้าหน้าที่และการส่งเสริมการเกษตร ผลการศึกษา พบว่า ตัวชี้วัดใน 5 ประเด็น คือปัจจัยนำเข้า (Input) ได้แก่ ตัวชี้วัดด้านเทคโนโลยีฯ ภูมิปัญญา ทีมงาน บุคลากร โครงการ กิจกรรม ทำให้เกษตรกรมีรายได้ที่ยั่งยืน งบประมาณ นโยบายและแผน ในส่วนกระบวน (Process) ได้แก่ ตัวชี้วัดการมอบหมายสั่งการ การดำเนินงานตามคำสั่ง วิชีการดำเนินการ กระบวนการแบบมีส่วนร่วม การวางแผน การถ่ายทอด การจัดองค์กร การติดตามและนิเทศ ผู้รับผิดชอบ ในส่วน ผลผลิต /ผลได้ (Output) ได้แก่ ตัวชี้วัดด้านต้นทุนผลผลิต โครงการมาตรฐานสินค้าเกษตรกร ผลตอบแทน มูลค่า เพิ่ม ในส่วนของผลลัพธ์ (Outcome) ได้แก่ ตัวชี้วัดด้านข่าวสารการถ่ายทอดความรู้ แผนงาน/โครงการ เทคโนโลยี การรายงานและในส่วนของผลกระทบ (Impact) ได้แก่ ตัวชี้วัดด้านแก้ปัญหา ด้านตนเอง รายได้ ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน คุณภาพชีวิตความเข้มแข็งของชุมชน เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรจังหวัดนครนายก เห็นด้วยมากกับตัวชี้วัดงานส่งเสริมการเกษตรของ จังหวัด โดยเห็นว่าตัวชี้วัดทุกตัวมีความน่าเชื่อถือ มีความสะดวกในการเก็บข้อมูล นำไปใช้ประโยชน์ในการ ส่งเสริม นำไปใช้ประโยชน์ในการบริหาร มีความเหมาะสมกับการนำไปใช้ มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมในระดับมาก และเห็นด้วยกับการใช้ประโยชน์ตัวชี้วัดในด้านการบริหารรัดการ การพัฒนา เจ้าหน้าที่ และด้านการส่งเสริมเกษตรกร | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.265 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | สำนักงานเกษตรจังหวัดนครนายก--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์. | th_TH |
dc.subject | การส่งเสริมการเกษตร--การจัดการ | th_TH |
dc.title | การบริหารงานส่งเสริมการเกษตรแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของสำนักงานเกษตรจังหวัดนครนายก | th_TH |
dc.title.alternative | Agricultural extension result based management for Nakhon Nayok provincial Agricultural Extension Office | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.265 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License