Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9818
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอภิรดา จิรชีวินมาศ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-29T07:10:38Z-
dc.date.available2023-09-29T07:10:38Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9818-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากร การประปานครหลวง (2) ศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรการประปานครหลวง (3) เปรียบเทียบสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรการประปานครหลวง จำแนกตามลักษณะ ประชากรศาสตร์ (4) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรการประปานครหลวง จำแนก ตามลักษณะประชากรศาสตร์ และ (5) ศึกษาความสัมพันธ์ของสมรรถนะที่มีต่อประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานของบุคลากรการประปานครหลวง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ บุคลากรการประปานครหลวง จำนวนทั้งสิ้น 4,122 คน ได้กลุ่มตัวอย่างโดยการคำนวณตามสูตรทาโร่ ยามาเน่ จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเป็นแบบมาตรประมาณค่าของไลเคิร์ทเกี่ยวกับลักษณะ ประชากรศาสตร์ สมรรถนะ และประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรการประปานครหลวง สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ เชิงอนุมาน ได้แก่การทดสอบค่าที ค่าเอฟ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับสมรรถนะในการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับมากเช่นกัน (2) ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับมากเช่นกัน (3) เมื่อเปรียบเทียบสมรรถนะ ในการปฏิบัติงาน จำแนกตามประชากรศาสตร์ พบว่า แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทุกด้าน ยกเว้นด้านเพศ (4) เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานจำแนกตามประชากรศาสตร์ พบว่า แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทุกด้าน ยกเว้นด้าน เพศ และหน่วยงานสังกัด (5) ผลการทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า สมรรถนะในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานในทิศทางเดียวกันอยู่ในระดับสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบุคลากรการประปานครหลวง--การทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงานth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ของปัจจัยสมรรถนะที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรการประปานครหลวงth_TH
dc.title.alternativeRelationship of competency factors affecting efficiency of employees' performance at Metropolitan Waterworks Authorityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: 1) to study the level of competency of employees at Metropolitan Waterworks Authority; 2) to study efficiency of employees’ performance at Metropolitan Waterworks Authority; 3) to compare competency of employees at Metropolitan Waterworks Authority classified by personal characteristics; 4) to compare efficiency of employees’ performance at Metropolitan Waterworks Authority classified by personal characteristics; and 5) to study the relationship between competency and efficiency of employees’ performance at Metropolitan Waterworks Authority. The population consisted of 4,122 employees at Metropolitan Waterworks Authority. The samples of 400 employees was calculated by Taro Yamane formula by stratified random sampling. Likert scale questionnaire was used for data collecting. The descriptive statistic were used for data analysis including frequency, percentage, means, and standard deviation. The inferential statistic were t-test, one way ANOVA and Pearson’s correlation coefficient. The results found that 1) the level of competency of employees was overall and in individual aspects at high; 2) the efficiency of employees’ performance was overall and in individual aspects also at high; 3) the comparison of competency of employees classified by personal characteristics revealed that all factors had different with statistical significant at 0.05 level, except gender; 4) the comparison of employees performance efficiency classify by personal characteristics revealed that all factors had different with statistical significant at 0.05 level, except gender and department; and 5) the relationship between competency and efficiency of employees’ performance had a positive high strength of relationshipen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151525.pdfเอกสารฉบับเต็ม24.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons