Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/981
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคลth_TH
dc.contributor.authorชาคริตชัย จอมแจ้ง, 2510-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-25T03:17:48Z-
dc.date.available2022-08-25T03:17:48Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/981-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาทของสมาชิกสภาเทศบาลต่อ การพัฒนาการเมึองการปกครองส่วนท้องถิ่น (2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคของสมาชิกสภาเทศบาลต่อการพัฒนาการเมึองการปกครองส่วนท้องถิ่น (3) เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาและอุปสรรคของสมาชิกสภาเทศบาลต่อการพัฒนาการเมืองการปกครองส่วนท้องถิ่น การศึกษาเรื่องบทบาทของสมาชิกสภาเทศบาลต่อการพัฒนาการเมืองการปกครอง ส่วนท้องถิ่นครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ วิธีการวิจัยเป็นแบบเชิงพรรณนา ผสมผสานกับการวิจัยเชิงเอกสาร โดยใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ แล้วนำเสนอผลการศึกษา กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย สมาชิกสภาเทศบาล จำนวน 18 คน คณะผู้บริหาร 4 คน และประธานชุมชน จำนวน 18 คน ผลการศึกษา พบว่า (1) สมาชิกสภาเทศบาลมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาการเมืองการปกครองส่วนท้องถิ่นด้านการสนับสนุนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองส่วนท้องถิ่นผ่านทางกิจกรรมต่างๆ แต่มีบทบาทนัอยมากและส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจต่อการทำหน้าที่ในสภาเทศบาลโดยให้ความสนใจนโยบายโครงสร้างพึ้นฐานมากที่สุด (2) สมาชิกสภาเทศบาลขาดความรู้ ความเข้าใจในบทบาทการเป็นสมาชิกสภาเทศบาลและปัญหาระบบอุปถัมภ์เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อการพัฒนาการเมืองการปกครองส่วนท้องถิ่น ( 3) สมาชิกสภาเทศบาลควร จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปและได้รับการอบรมด้านการเมืองและการบริหารโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสนับสนุนและส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเทศบาล -- ไทย -- หนองคายth_TH
dc.subjectสมาชิกสภาเทศบาลth_TH
dc.subjectการปกครองท้องถิ่น -- ไทย -- หนองคาย -- การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.titleบทบาทของสมาชิกสภาเทศบาลต่อการพัฒนาการเมืองการปกครองส่วนท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณีเทศบาลเมืองท่าบ่อ อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคายth_TH
dc.title.alternativeThe role of municipal council members in the development of local politics and government : a case study of Tha Bo Municipality, Tha bo District, Nong Khai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to: (1) study the role of municipal council members in the development of local politics and government; (2) study the problems and obstacles municipal council members faced in the development of local politics and government; and (3) giverecommendations to solve the problems faced by municipal council members in the development of local politics and government. This was a qualitative study using a descriptive research method combined with document study. A questionnaire was used and the primary data providers were interviewed before the results of the study were presented. Sample consisted of 18 municipal council members, 4 executives, and 18 Community leaders. The results showed that (I) the municipal council members played a major role in developing local politics and government in terms of supporting and promoting public participation through various activities, but had a minor role in performing their duties, the majority lacked knowledge and understanding of the responsibilities of the municipal council. They were most interested in the infrastructure policy. (2) The municipal council members’ lack of knowledge and understanding about their role as municipal council members, and the patronage system were the main obstacles to developing local politics and government. (3) The municipal council members should receive at least undergraduate degree and be participated in training course on political and administrative affairs so that they were able to perform their jobs both inside and outside the municipal council for the benefit of the people with emphasis on supporting and promoting more people’s participation in politics and governmenten_US
dc.contributor.coadvisorเสนีย์ คำสุขth_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib105703.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons