Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9820
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภาth_TH
dc.contributor.authorอนิวรรต ฤกษ์หร่ายth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-29T07:45:08Z-
dc.date.available2023-09-29T07:45:08Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9820en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากลยุทธ์ระดับธุรกิจของธุรกิจสุขภัณฑ์ห้องครัวและห้องนํ้าแห่งหนึ่ง ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน 2) ศึกษาและคัดเลือกปัจจัยสําคัญในการประสานพลังเพื่อการพัฒนานวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ในสถานการณ์ที่จําเป็นจากปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 3) เปรียบเทียบความคิดเห็นของพนักงานต่อปัจจัยในการ ประสานพลังเพื่อการพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ในสถานการณ์ที่จําเป็นที่องค์การได้ดําเนินการในปัจจุบันและที่คาดว่า องค์การควรจะดําเนินงานต่อไปในอนาคต 4) เปรียบเทียบความคิดเห็นต่อปัจจัยในการประสานพลังเพื่อการพัฒนา นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ในสถานการณ์ที่จําเป็นที่คาดว่าองค์การควรจะดําเนินงานต่อไปในอนาคต จําแนกตามกลุ่มการตลาด และการออกแบบ และกลุ่มวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ 5) การกำหนดแผนที่ยุทธศาสตร์ของการประสานพลังเพื่อพัฒนา นวัตกรรมผลิตภัณฑ์เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนดขององค์การ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจโดยเป็นทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรได้แก่ บุคคลากรที่เกี่ยวข้องกับสายการพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการภายในองค์การจํานวน 35 คน และเก็บข้อมูลจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลการสนทนากลุ่ม แบบสอบถามเพื่อประเมินระดับความสําคัญของปัจจัยในการพัฒนานวัตกรรมในสถานการณ์ที่จําเป็น และแบบสัมภาษณ์เชิงลึกสําหรับผู้บริหารระดับสูง การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์เนื้อหา และการวิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ประชากร และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) กลยุทธ์ระดับธุรกิจใช้กลยุทธ์การสร้างความแตกต่างในผลิตภัณฑ์ การพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จึงเป็นองค์ประกอบสําคัญในการบรรลุเป้าหมายสูงสุดขององค์การ 2) ปัจจัยสําคัญในการประสานพลังเพื่อนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ที่จําเป็นได้แก่ ปัจจัยบรรยากาศ/ทุนองค์กร ประกอบด้วย โครงสร้างองค์การแบบแนวราบ และการเปรียบเทียบวัดผู้นํา ปัจจัยทุนข้อมูล ประกอบด้วยการสื่อสารแบบเปิด และการจัดการองค์ความรู้ปัจจัยการจัดการทรัพยากรบุคคล ประกอบด้วย นโยบายพัฒนาภาวะผู้นําของพนักงาน การให้อํานาจลองผิดลองถูก และระบบการพัฒนาระบบแรงจูงใจ ปัจจัยการจัดการสมรรถนะประกอบด้วย ระบบการสรรหาและจัดการดาวเด่น และ ปัจจัยวัฒนธรรมประกอบด้วย วัฒนธรรมการทํางานเป็นทีม และปัจจัยนวัตกรรม ประกอบด้วย พันธมิตรทางการสร้างนวัตกรรม 3) ความคิดเห็นของพนักงานต่อปัจจัยในการประสานพลังเพื่อการพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ในสถานการณ์ที่จําเป็นที่องค์การได้ดําเนินการในปัจจุบันและที่คาดว่าองค์การควรจะดําเนินงานต่อไปในอนาคตไม่แตกต่างกัน 4)กลุ่มการตลาดและการออกแบบ และกลุ่มวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์มีความคิดเห็นต่อปัจจัยในการประสานพลังเพื่อการพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ในสถานการณ์ที่จําเป็นที่คาดวาองค์การควรจะดําเนินงานต่อไปในอนาคต ไม่แตกต่างกัน 5) การกำหนดแผนที่ ยุทธศาสตร์ของการประสานพลังเพื่อพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนดขององค์การ ตามมุมมองของ Balanced Scorecard ในมุมมองที่เกี่ยวข้องกับงานพัฒนานวัตกรรม ได้แก่ ด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต ปัจจัยสําคัญ คือบรรยากาศ/ทุนองค์การ ทุนข้อมูล การจัดการทรัพยากรบุคคล การจัดการสมรรถนะ และวัฒนธรรม และมุมมมองด้านกระบวนการภายใน ได้แก่ ปัจจัยพันธมิตรทางการสร้างนวัตกรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความสามัคคีth_TH
dc.subjectความร่วมมือth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการประสานพลังในองค์การเพื่อสนับสนุนต่อการพัฒนานวัตกรรม : กรณีศึกษาบริษัทสุขภัณฑ์โมเอิน (เซี่ยงไฮ้) จำกัด ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนth_TH
dc.title.alternativeOrganizational synergy for innovations development : a case study of Moen (Shanghai) Kitchen & Bath Products Company Limited, People's Republic of Chinaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study 1) business-level strategy of a kitchen & bath products company in People’s Republic of China. 2) Finding out and selecting for necessary factors from sufficient factors for organizational synergy in product innovations. 3) Comparative study between employee views on the current importance and expectation of the necessary factors of organizational synergy for innovations development. 4) Comparative opinion study between the Marketing-and-Design team and the Research and Development team on their expectations of organizational synergy for innovations development. 5) Formulating the strategy map of organizational synergy for innovations development to achieve the vision of the company. Research methodology, this was an exploratory research applied with qualitative and quantitative methods. The population of the study, 35 persons selected from the product innovations development in those two mentioned groups (4) and collected data from the whole population. The data collection tools were recorded focus-group discussions, scaled and open-end questionnaires to evaluate the importance degree of the necessary factors of organizational synergy for innovations development, and an in-depth interview for the executive. Analysed data with a content analysis and a descriptive statistic such as the population mean and standard deviation. The results of study were found that 1) the company used a differentiation strategy in the business-level, the product innovations development was the key element to achieve the ultimate goals of the organization. 2) The necessary factors in the synergy for innovations development were the factors of climate/organizational capital consisted of flat organization and benchmarking, the factors of information capital consisted of open communication and knowledge management, the factors of human resource management consisted of employee’s leadership policy, empowerment and incentive system, the factor of competency management consisted of talent pool management, the factor of culture consisted of team culture, and the factor of innovations consisted of innovation development alliance. 3) The employee views on the current importance of the necessary factors of organizational synergy for innovations development were not different from the expectations. 4) The opinions between the Marketing-and-Design team and the Research and Development team on the expectations of those necessary factors were not different. 5) Formulating the strategy map of organizational synergy for innovations development to achieve the vision of the company, following to the Balance Scorecard, the perspective related to the innovations development was the perspective of learning and growth with the necessary factors of climate/organizational capital, information capital, human resource management, competency management and culture, and in the perspective of internal process such as the factor of innovation development alliance.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151528.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons