Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9831
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รุจ ศิริสัญลักษณ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | พรชุลีย์ นิลวิเศษ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | กฤษณา รุ่งโรจน์วณิชย์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | อภิชาต ศศิสนธิ์, 2493- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-02T02:32:13Z | - |
dc.date.available | 2023-10-02T02:32:13Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9831 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้ ปลูกมังคุด (2) สภาพการผลิตมังคุด (3) การยอมรับการผลิตมังคุดของเกษตรกร (4) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอม รับเทคโนโลยีการผลิตมังคุดของเกษตรกร (5) ปัญหาเกี่ยวกับการผลิตมังคุดของเกษตรกรในจังหวัดชุมพร ผลการวิจัยพบว่าเกษตรกรส่วนมากเป็นเพศชายมีอายุเฉลี่ย47.21ปี จบการศึกษา ภาคบังคับ มี ประสบการณ์ในการปลูกมังคุดเฉลี่ย 17.29ปี เป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร จำนวนแรงงานจ้างทำการเกษตรน เฉลี่ย 1.69 คน มีพื้นที่ปลูกมังคุดโดยเฉลี่ย 12.18 ไร่ รายได้ในรอบปีที่ผ่านเฉลี่ย 109,787.50 บาท การศึกษาสภาพการ ผลิตมังคุด พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกมังคุดในสภาพพื้นที่เป็นที่ดอน เป็นดินร่วนปนทราย ใช้น้ำฝน แหล่ง พันธุ์จากการผลิตเอง ใช้ปุ๋ยเคมีในการผลิตมังคุด มีการให้น้ำโดยใช้สายยางรด กำจัดวัชพืชโดยการใช้เครื่องคัด แบบเหวี่ยง กำจัดโรคและแมลงโดยวิขีผสมผสาน การเก็บเกี่ยวมังคุดขึ้นอยู่กับการสุก โดยใช้จำปาไม้ไผ่ หลังการ เก็บเกี่ยวมีการคัดขนาด ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 809.19 กิโลกรัม ต้นทุนการผลิตต่อไร่เฉลี่ย 4,987.39 บาท เกษตรกรมี การยอมรับเทคโนโลยีการผลิตมังคุดในเชิงความคิดเห็นในระดับไม่แน่ใจ และยอมรับในเชิงการนำไปปฏิบัติใน ระดับปานกลาง ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยี การผลิตมังคุดเชิงความคิดเห็นได้แก่ รายได้จากภาค การเกษตร ส่วนปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยี การผลิตมังคุดในการนำไปปฏิบัติ ได้แก่ พื้นที่ปลูก มังคุด ต้นทุนการผลิตมังคุด สมาชิกในครัวเรือน และรายได้จากภาคเกษตร นอกจากนี้พบว่าเกษตรกรมีปัญหา อุปสรรคในการผลิตมังคุดระดับน้อยที่สุค | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.131 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เกษตรกร--ไทย--ชุมพร | th_TH |
dc.subject | มังคุด--การผลิต--เทคโนโลยีที่เหมาะสม | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตมังคุดของเกษตรกรในจังหวัดชุมพร | th_TH |
dc.title.alternative | Factors relating to the adoption of mangosteen production technology by farmers in Chumphon Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.131 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License