Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9840
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | พรชุลีย์ นิลวิเศษ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | อดุลย์ กองชะนะ, 2507- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-02T03:40:24Z | - |
dc.date.available | 2023-10-02T03:40:24Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9840 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมบาง ประการของเกษตรกรในจังหวัดบุรีรัมย์ 2) สภาพการผลิตและจำหน่ายข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของ เกษตรกร 3) ความรู้และทัศนคติของเกษตรกรต่อการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของเกษตรกรในจังหวัดบุรีรัมย์ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นชาย มีอายุเฉลี่ย 49.02 ปี จบการศึกษา ระดับประถมศึกษา มีสมาชิกในครอบครัวเฉลี่ย 4.89 คน มีประสบการณ์การปลูกข้าวหอมมะลิ อินทรีย์เฉลี่ย 2.75 ปี มีพื้นที่ถือครองทางการเกษตรเฉลี่ย 21.60 ไร่ พื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิ อินทรีย์เฉลี่ย 13.55 ไร่ มีแรงงานในครอบครัวเฉลี่ย 2.82 คน มีรายได้ของครอบครัวเฉลี่ย 91,809.48 บาท มีรายได้จากการขายข้าวหอมมะลิอินทรีย์เฉลี่ย 38,998.30 บาทเกษตรกรส่วน ใหญ่ปลูกข้าว โดยวิธีการหว่าน และมีการใช้ปุยอินทรีย์หลายชนิดร่วมกัน ด้านความรู้ พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่มีความรู้ในการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ในระดับปานกลางและ มีทัศนคติที่เห็นด้วยต่อการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ในระดับมาก เกษตรกรส่วนใหญ่มีปัญหาระดับน้อยด้านการผลิต และมีปัญหาด้านการตลาดในระดับปานกลาง ในเรื่องความรู้ด้านการตลาด การส่งเสริม ด้านการตลาด และสภาพแวดล้อมในการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.83 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เกษตรกร--ไทย--บุรีรัมย์ | th_TH |
dc.subject | ข้าวหอมมะลิ--แง่เศรษฐกิจ--ไทย--บุรีรัมย์ | th_TH |
dc.subject | ข้าวหอมมะลิ--การผลิต | th_TH |
dc.title | การผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของเกษตรกรในจังหวัดบุรีรัมย์ | th_TH |
dc.title.alternative | Organic Hom Mali Rice production by farmers in Buriram [i.e. Buri Ram] Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2006.83 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
100819.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License