Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9845
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรทิพย์ อุดมสิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมชาย เปี่ยมจิตรสุข, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-02T04:18:36Z-
dc.date.available2023-10-02T04:18:36Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9845-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจบางประการของ สมาชิกกลุ่มเกษตรกรทำสวนวังหว้า (2) การใช้ปุ๋ยเคมีของสมาชิกกลุ่มเกษตรกรทำสวนวังหว้าในประเด็นของ ประเภท สูตร และปริมาณ ปุ๋ยเคมี (3) ปัจจัยที่นำมาพิจารณาในการซื้อปุ๋ยเคมีของสมาชิกกลุ่มเกษตรกรทำสวนวังหว้า ผลการวิจัย พบว่า สมาชิกกสุ่มเกษตรกรทำสวนวังหว้าสองในสามเป็นเพศชาย มีอายูเฉลี่ย 51.13 ปี สองในสามจบการศึกษาระดับประถมศึกษา จำนวนแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.69 คน ส่วนใหญ่ปลูกไม้ผลเป็น อาชีพหลัก ถือครองที่ดินเฉลี่ยครัวเรือนละ27.96 ไร่ มีรายได้จากการทำสวนเฉลี่ย 193,525.20 บาท สมาชิกกลุ่ม เกษตรกรทำสวนวังหว้าที่ปลูกไม้ผลส่วนใหญ่ใช้ปุ๋ยเชิงประกอบ การใช้{เยเคมีในระยะสร้างใบ พบว่า เกษตรกร ใช้{เยสูตร 16-16-16 มากที่สุดและใช้ในอัตรา 30-44 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี การใช้ปุ๋ยเคมีในระยะสร้างดอก พบว่า เกษตรกรใช้ปุ่ยสูตร 8-24-24 มากที่สุดและใช้ในอัตรา 25-39 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี การใช้ปุ๋ยเคมีในระยะกำลังติดผล พบว่า เกษตรกรใช้ปุ๋ยสูตร 8-24-24 มากที่สุดและใช้ในอัตรา 25-34 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ปัจจัยที่นำมาพิจารณา ในการซื้อประเภทปุ๋ยเคมี ได้แก่ คำแนะนำของเพื่อนบ้าน คำแนะนำของรัานค้าผู้จำหน่ายปุ๋ยเคมี และรายการ ส่งเสริมการขายของบริษัทหรือร้านค้าในขณะนั้น ปัจจัยที่นำมาพิจารณาในการซื้อสูตรปุ๋ยเคมี ได้แก่ คำแนะนำ ของเพื่อนบ้าน คำแนะนำของร้านค้าผู้จำหน่ายปุ๋ยเคมี และความต้องการของพืช ปัจจัยที่นำมาพิจารณาในการซื้อ ปริมาณปุ๋ยเคมี ได้แก่ ราคาปุ๋ยเคมีในขณะที่จะซื้อ ความต้องการของพืช และปริมาณผลผลิตของเกษตรกร สมาชิกกลุ่มเกษตรกรทำสวนวังหว้าส่วนใหญ่มีการปฏิบัติในการเลือกซื้อปุ๋ยเคมี ดังนี้หลีกเลี่ยงการซื้อปุ๋ยเคมีที่ กระสอบบรรจุชำชุดหรือผิดปกติ ไม่เคยขายถุงหรือกระสอบปุ๋ยเคมีที่ใชัแล้ว และซื้อปุ๋ยเคมีจากร้านค้าที่เชื่อถือ ได้และมีใบอนุญาตจำหน่ายอย่างถูกต้องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.73-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectปุ๋ยวิทยาศาสตร์th_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--ระยองth_TH
dc.titleการใช้ปุ๋ยเคมีของสมาชิกกลุ่มเกษตรกรทำสวนวังหว้า จังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeThe usage of chemical fertilizer of Wangwa Gardener Group Members in Rayong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.73-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100823.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons