Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9848
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมจิต โยธะคง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมบัติ อินทมา, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-02T06:21:53Z-
dc.date.available2023-10-02T06:21:53Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9848-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสภาพสังคม เศรษฐกิจของ กลุ่มตัวอย่าง (2) ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อความพร้อมขององค์การบริหารส่วนต่าบลของจังหวัดอุดรธานี ในการรับการถ่ายโอนภารกิจจากกรมส่งเสริมการเกษตร (3) เปรียบเทียบความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อความ พร้อมขององค์การบริหารส่วนตำบลของจังหวัดอุดรธานี ในการรับการถ่ายโอนภารกิจจากกรมส่งเสริมการเกษตร และ (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับความพรัอมในการรับถ่ายโอนภารกิจจากกรมส่งเสริมการเกษตร ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 85.1 เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 47.27 ปี ร้อยละ 53.7 มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ระยะเวลาในการทำงานในหน้าที่ปัจจุบันเฉลี่ย 9.87 ปี มีรายได้รวมต่อเดือนเฉลี่ย 16,597.32 บาท และมีรายจ่ายรวมต่อเดือนเฉลี่ย 14,568.99 บาท (2) ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อความพร้อม ของ อบต.ของจังหวัดอุดรธานีในการรับการถ่ายโอนภารกิจจากกรมส่งเสริมการเกษตร โดยภาพรวม อยู่ในระดับ ปานกลาง (3) นายก อบต.และปลัด อบต. มีความคิคเห็นว่า อบต. มีความพร้อมในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรฯ และกรรมการบริหารศูนย์ มีความคิดเห็นว่า อบต.มีความพร้อมในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง (4) เปรียบเทียบความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อความพร้อมของ อบต.ของจังหวัดอุดรธานี ในการรับการถ่ายโอนภารกิจจากกรมส่งเสริมการเกษตร พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (5) ปัญหาที่สำคัญเกี่ยวกับเรื่องการถ่ายโอนภารกิจ คือ อบต.ขาดบุคลากรด้านส่งเสริม การเกษตร ข้อเสนอแนะ ที่สำคัญคือ ควรมีการชัดประชุม/สัมมนา/ฝึกอบรมร่วมกันระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลกับกรมส่งเสริม การเกษตร เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจร่วมกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.290-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--อุดรธานีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--การบริหารth_TH
dc.titleความพร้อมขององค์การบริหารส่วนตำบลในการรับถ่ายโอนภารกิจจากกรมส่งเสริมการเกษตร : กรณีศึกษาจังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeReadiness of sub-district administration organization for mission transfer from the Agricultural Extension Department : a case study in Udon Thani Provinceen_US
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.290-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100889.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons